กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการผู้สูงอายุยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ หมู่ที่ ๗ ตำบลนาขยาด ”
ตำบลนาขยาด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
ชมรมผู้สูงอายุ หมู่ที่ ๗ (นางสมจิตร ขวัญศรี)




ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ หมู่ที่ ๗ ตำบลนาขยาด

ที่อยู่ ตำบลนาขยาด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3320-02-08 เลขที่ข้อตกลง 22/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 ธันวาคม 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงอายุยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ หมู่ที่ ๗ ตำบลนาขยาด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาขยาด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ หมู่ที่ ๗ ตำบลนาขยาด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงอายุยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ หมู่ที่ ๗ ตำบลนาขยาด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาขยาด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3320-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 กรกฎาคม 2567 - 30 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ
  2. ส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ
  3. ประเมินผลและถอดบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 55
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

จำนวนผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ลดลง และจำนวนผู้สูงอายุที่มีการบริโภคผัก ผลไม้ปลอดภัยเพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอเพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ

วันที่ 5 กันยายน 2567 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 5 กันยายน 2567 ณ ศาลาหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 บ้านสะพานข่อย ตำบลนาขยาด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง นางเพ็ญศรี ร่มหมุน ประธานกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ม.7 ทำหน้าที่เปิดประชุม เวลา 13.00 น ประธานได้แจ้งในที่ประชุมถึงวัตถุประสงค์ของการนัดประชุมในครั้งนี้ว่า ทางชมรม ม.7 ได้นำเสนอ โครงการผู้สูงอายุยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพในหัวข้อกิจกรรมการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม จะจัดวันไหน กรรมการทั้ง 5 จะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการประชุมหารือกันแล้วว่าจะจัดในวันที่ 8 กันยายน 2567 เรื่องเตรียมจัดโครงการ เชิญวิทยากร จัดเก็บ เอกสารทุกรายการ นางเพ็ญศรี ร่มหมุน ประธานชมรมเป็นผู็รับผิดชอบ  ฝ่ายสนับสนุนกิจกรรมกรรมการทุกคนร่วมกันปรึกษาทำงานรับผิดชอบร่วมกัน

 

0 0

2. ส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ

วันที่ 8 กันยายน 2567 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมในวันที่ 8 กันยายน 2567 ณ ที่ทำการหมู่บ้านหมู่ที่ 7 บ้านสะพานข่อย โดยใช้เวลา 1 วัน ตามหมายกำหนดการที่เสนอในโครงการมีรายละเอียดดังนี้ วันที่ 8 กันยายน 2567 เวลา 08.00 - 09.00 น. ผู้เข้าร่วมอบรมลงทะเบียน เปิดโครงการ นายประยูญ ยอดราช ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 และได้ดำเนินการ กิจกรรม ตามกำหนดปกติ บรรยายและให้ความรู็ โดย นางวรรณา เรืองศรี ในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ ผู้ที่เข้าร่วมอบรมได้แสดงความคิดเห็นและพึงพอใจในกิจกรรม สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ ในช่วงบาย ได้สาธิตการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์วิทยากร โดย นายคล่อง ศรีนวนเอียด ซึ่งเป็นหมอจิตอาสาและเป็นศูนย์เรียนรู้เรื่องการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์เป็นกิจกรรมที่ทำได้ต่อเนื่องผลประโยชน์ที่ได้ด้านสิ่งแวดล้อมประโยขน์ที่ได้รับ คือการประหยัดและที่สำคัญคือการได้กินผักปลอดสารพิษซึ้งตรงกับเป้าหมายในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้มากขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดประโยชน์ทางด้านความรู้และวิชาการผู้เข้าร่วม โครงการสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

0 0

3. ประเมินผลและถอดบทเรียน

วันที่ 12 กันยายน 2567 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการดำเนินงานโครงการในวันที่ 12 กันยายน 2567 เวลา 13.00 - 15.00 น. สถานที่ ที่ทำการหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 บ้านสะพานข่อย ตำบลนาขยาด อ.ควนขนุน จ.พัทลุง เพื่อสรุปผลรายงานเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2567

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมอบรมได้รับการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี ลดความเสี่ยงการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลิหิตสูง จากหลักสูตรที่ได้อบรมมาการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองตามหลัก 3 อ. (อาหาร ออกกำลัง อารมณ์) และการปลูกผักกินเองโดยใช้ปุ๋ยหมักอินทรีย์ชีวภาพที่ทำใช้เองได้กินผักปลอดสารพิษและปลอดภัย
2.ผู้สูงอายุมีความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง มีความสุขในกิจกรรมที่ลงมือทำ มีความกล้าในการแสดงออกและซักถามปัญหากับวิทยากรอย่าเป็นกันเอง
3.เนื้อหาที่จัดอบรมได้ตรงกับปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
4.ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความสามัคคีในการทำกิจกรรมร่วมกันได้ผ่อนคลายพูดคุยกันอย่างสนุกสนาน
5.ผู้รับผิดชอบโครงการมีการบริหารงบประมาณที่ได้รับอย่างลงตัวเพราะมีการวางแผนและกระบวนการที่ชัดเจน
จำนวนผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหาร หวาน มัน เค็ม ลดลง และจำนวนผู้สูงอายุที่มีการบริโภคผักผลไม้ปลอดภัยเพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอเพิ่มขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ลดลง
45.60 35.00 13.03

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
55.70 70.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 55
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม (2) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ (2) ส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ (3) ประเมินผลและถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงอายุยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ หมู่ที่ ๗ ตำบลนาขยาด จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3320-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมผู้สูงอายุ หมู่ที่ ๗ (นางสมจิตร ขวัญศรี) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด