กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี


“ โครงการเสริมสร้างทักษะอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ตำบลสะบารัง (ประเภทที่1) ”

ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางวิธิรา ไชยชนะ

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างทักษะอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ตำบลสะบารัง (ประเภทที่1)

ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L7884-1-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างทักษะอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ตำบลสะบารัง (ประเภทที่1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างทักษะอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ตำบลสะบารัง (ประเภทที่1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างทักษะอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ตำบลสะบารัง (ประเภทที่1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L7884-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,120.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามกลุ่มวัย โดยเฉพาะกลุ่มวัยเรียนและกลุ่มวัยรุ่น มีกำหนดยุทศาสตร์การจัดบริการที่มีคุณภาพมาตรฐานครอบคลุมและเข้าถึงวัยรุ่นทุกกลุ่มทั้งในสถานบริการสาธารณสุข สถานศึกษาและชุมชน พัฒนาระบบบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ครอบคลุมบริการที่จำเป็นทุกด้าน โดยมุ่งให้บริการที่มีความเป็นมิตรและสอดคล้อง กับความต้องการและสิทธิของวัยรุ่นตามมาตรา 5 ของพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ว่าด้วย "วัยรุ่นมีสิทธิ์ตัดสินใจด้วยตนเองและมีสิทธิได้รับข่าวสารและความรู้ ได้รับการบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ ได้รับการรักษาความลับและความเป็นส่วนตัว ได้รับการจัดสวัสดิการสังคม อย่างเสมอภาคและไม่ถูกเลือกปฏิบัติและได้รับสิทธิอื่นใดที่เป็นประโยชน์ตามพระราชบัญญัตินี้ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอ" กรมอนามัยได้มีการขับเคลื่อนนโยบายและยุทศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเริญพันธุ์แห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560-2569) ว่าด้วยการส่งเสริมการเกิดและการเริญเติบโตอย่างมีคุณภาพโดยกิจกรรมสำคัญ คือ การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยกรมอนามัย กรมควบคุมโรคและกรมสุขภาพจิตสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตร ตามแนวทางมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (Youth Friendly Health Services-YFHS) ในโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ เพื่อดูแลสุขภาพวัยรุ่นแบบองค์รวม ทั้งสุขภาพกาย สุขภาพจิต พัฒนาการด้านการเรียนรู้ อารมณ์และสังคม ให้มีการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวช เป็นหนึ่งในมาตราการหลักเพื่อปรับปรุง บริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ของวัยรุ่น
  จากข้อมูลสถิติพบว่าวัยรุ่นไทยคลอดบุตรที่มีอายุระหว่าง 15-19 ปี ระหว่างปี 2552-2562 พบว่ามีจำนวน 1,138,427 ราย โดยในปี2562 จำนวน 61,615 ราย คิดเป็นจำนวนเฉลี่ย 97 รายต่อวัน ก่อนตั้งครรภ์แม่วัยรุ่นยังเป็นนักเรียน นักศึกษาในสถานศึกษาถึงร้อยละ 48.5 และส่วนใหญ่แม่วัยรุ่นที่เป็น นักเรียน นักศึกษาไม่ตั้งใจตั้งครรภ์และไม่มีการคุมกำเนิดถึงร้อย 55.2 (Reproductive Health Office,2020)
  การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เป็นอีกหนึ่งสาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหาอื่นๆตามมา ได้แก่ การตั้งครรภ์โดยไม่พร้อม การทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยและการทอดทิ้งเด็ก การติดเชื้อเอดส์ ซึ่งการตั้งครรภ์ไม่พร้อมยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเด็กที่เกิดมาและแม่วัยรุ่นทั้งทางกายและทางจิตใจ (Panichkriangkrai, 2014; Sommana,Chaimay & Woradet, 2018)   สำหรับอำเภอเมืองปัตตานีได้มีการดำเนินงานโครงการอำเภออนามัยเจริญพันธุ์ โดยเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในระดับพื้นที่ ท้องถิ่น และชุมชน เพื่อส่งเสริมให้อำเภอได้มีกระบวนการ ดำเนินงานแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมในวัยรุ่นแลัเยาวชนอย่างมีส่วนร่วม ตลอดจนทำให้เกิดการดำเนินงานอนามัยเจริญพันธุ์อย่างต่อเนื่อง โดยมีกลไกลการขับเคลื่อนการดำเนินงานร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งของภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาสังงคม   ดังนั้นศูนย์สุขภาพชถุมชนเมืองปากน้ำ รับผิดชอบตำบลสะบารัง ซึ่งเป็นตำบลนำร่องให้มีการดำเนินการโครงการตำบลอนามัยเจริญพันธุ์ โดยเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครื่อข่ายและเพิ่มการเข้าถึงบริการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ โดยมุ่งหวังให้วัยรุ่นได้รับข่าวสาร ได้รับคำปรึกษา และเข้าถึงบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ เพื่อส่งเสริมให้ตำบลได้มีกระบวนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมในวัยรุ่นและเยาวชนอย่างมีส่วนร่วม ตลอดจนทำให้เกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง จึงจัดทำโครงการเสริมสร้างทักษะอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ตำบลสะบารัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เกิดรูปแบบการทำงานแบบเพื่อนช่วนเพื่อนในการให้ความรู้ การให้คำปรึกษาเบื้องต้น และส่งผลต่อภาคีเครือข่ายเพื่อการดูแลช่วยเหลือวัยรุ่นตามความเหมาะสม 2. เยวชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และได้รับบริการอนามัยเจริญพันธุ์ 3. การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและปัญหาเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์ในวัยรุ่นลดลงพร้อมทั้งได้รับการแก้ไข 4. ระดับตำบล มีการดำเนินงานพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น เป็นตำบลต้นแบบบูรณการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น และอนามัยเจริญพันธุ์


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเสริมสร้างทักษะอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ตำบลสะบารัง (ประเภทที่1) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 67-L7884-1-15

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวิธิรา ไชยชนะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด