โครงการธนาคารขยะรีไซเคิล ตาดีการักษ์สิ่งแวดล้อม
ชื่อโครงการ | โครงการธนาคารขยะรีไซเคิล ตาดีการักษ์สิ่งแวดล้อม |
รหัสโครงการ | 67-L2494-02-11 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมพัฒนาสังคมบ้านจะแลเกาะ |
วันที่อนุมัติ | 31 มกราคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2567 |
งบประมาณ | 15,800.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายอับดุลเลาะ มะฆา |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลมะนังตายอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.354,101.76place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ต.ค. 2566 | 30 ก.ย. 2567 | 15,800.00 | |||
รวมงบประมาณ | 15,800.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่าเป็นปัญหาสำคัญในชุมชน สาเหตุเนื่องมาจากประชากรในชุมชนไม่ค่อยดูแลรักษาความสะอาดทำให้ขยะในชุมชนเพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่างๆมีมากขึ้น และสิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้คือขยะ ย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วย จนกระทั่งการกำจัดขยะไม่สมดุลกันการเพิ่มขึ้นของจำนวนขยะ จึงมีขยะที่เหลือตกค้างรอการกำจัดอยู่เป็นจำนวนมาก ขยะ ผู้คนส่วนมากละเลยและไม่เห็นคุณค่า ทั้งที่ขยะเหล่านั้นหากนำมาคัดแยกอย่างถูกวิธีแล้วจะสามารถสร้างประโยชน์ได้และยังสามารถนำกลับมาหมุนเวียนเข้ากระบวนการผลิตเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่อีกครั้ง ซึ่งเป็นการประหยัดทรัพยากรและเงินงบประมาณแผ่นดินได้เป็นจำนวนมาก รวมทั้งปริมาณขยะก็จะลดจำนวนลงได้มาก ซึ่งจะส่งผลดีทั้งต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้นเพื่อเป็นการปลูกจิตสำนึกของผู้ปกครองและนักเรียนได้รับรู้ถึงปัญหาขยะ จึงได้จัดทำโครงการธนาคารขยะรีไซเคิล ตาดีการักษ์สิ่งแวดล้อม
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับผู้สอนและผู้ปกครองในการคัดแยกขยะ 2.เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี 3.เพื่อให้นักเรียนแลผู้ปกครองเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยของมนุษย์ หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม 1.ร้อยละ 90 ของผู้สอนและผู้ปกครองสามารถสร้างวินัยในการทิ้งขยะให้กับนักเรียน 2.ร้อยละ 90 สร้างจิตสำนึกในการจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อมให้กับผู้ปกครองและนักเรียน 3.ร้อยละ 90 ของครอบครัวที่ปลอดโรคจากสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | มิ.ย. 67 | ก.ค. 67 | ส.ค. 67 | ก.ย. 67 |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | กิจกรรมหลักและกิจกรรมย่อย(22 ก.ค. 2567-22 ก.ค. 2567) | 15,800.00 | ||||
รวม | 15,800.00 |
1 กิจกรรมหลักและกิจกรรมย่อย | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 70 | 15,800.00 | 1 | 15,800.00 | 0.00 | |
22 ก.ค. 67 | 1.กิจกรรมอบรมสร้างความเข้าใจให้เด็ก ผู้ปกครองและประชาชนทั่วไปในชุมชน | 70 | 15,800.00 | ✔ | 15,800.00 | 0.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 70 | 15,800.00 | 1 | 15,800.00 | 0.00 |
1.ประชาชนเกิดแนวคิดที่ดีต่อการจัดการขยะมูลฝอย และเข้าใจคุณค่าของสิ่งต่างๆว่าวัสดุบางประเภทสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายครั้งหรือสามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้ 2.การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากภูมิปัญญาของบุคลากร หน่วยงานและองค์กรในท้องถิ่น 3.ได้แนวทางและรูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกจิตสำนึกด้านอนุรักา์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาของท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 เม.ย. 2567 15:51 น.