โครงการส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF) ”
ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวเกวลี ดาฮาตอ ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านด่านสันติราษฎร์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะแมเราะ
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF)
ที่อยู่ ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4128-3-02 เลขที่ข้อตกลง 14/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะแมเราะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4128-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,980.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะแมเราะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันพัฒนาการของเด็กปฐมวัย เป็นที่น่าวิตกมากเมื่อพบว่าโดยภาพรวมแล้ว เด็กปฐมวัยมีแนวโน้มพัฒนาการล่าช้าในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย อารมณ์สังคมและสติปัญญา เนื่องจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป โดยที่พ่อแม่ ผู้ปกครองขาดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยดังนั้นจึงหาของเล่นที่สำเร็จรูปที่มีขายตามท้องตลาด โดยไม่คำนึงถึงว่าของเล่นนั้นๆสามารถส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยหรือไม่ สำหรับเด็กปฐมวัย การเล่นมีความสำคัญต่อการพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยเป็นอย่างมาก เพราะการเล่นถือว่าเป็นสิ่งสำคัญที่จะนำไปสู่กระบวนการเรียนรู้ของเด็กในอนาคตดังนั้น พ่อ แม่ และผู้เลี้ยงดู ต้องเข้าใจและสามารถนำของเล่น
หรือกิจกรรมการเล่นไปใช้กับเด็กได้อย่างเหมาะสมกับวัย เช่น กระดานลื่นยีราฟคอยาวช่วยส่งเสริมพัฒนาการในด้านร่างกายอารมณ์สังคมและสติปัญญาและกระดานหกม้า ช่วยส่งเสริมพัฒนาการในด้านร่างกายอารมณ์สังคมและสติปัญญาทำให้เด็กมีพัฒนาการทั้งทางด้านร่างกายอารมณ์สังคมและสติปัญญา ได้เหมาะสมกับวัยและเพื่อทำให้ทักษะการพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยก้าวไปอย่างมีคุณภาพซึ่งเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ในอนาคต EF (Executive Functions) เป็นกระบวนการทางความคิด (Mental process) ในสมองส่วนหน้า ที่เกี่ยวข้องกับการคิด ความรู้สึก และการกระทำ เช่น การยั้งใจคิดไตร่ตรอง การควบคุมอารมณ์ การยืดหยุ่นทางความคิด การตั้งเป้าหมาย วางแผน ความมุ่งมั่น การจดจำและเรียกใช้ข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดลำดับความสำคัญของเรื่องต่างๆ และการทำสิ่งต่างๆ อย่างเป็นขั้นเป็นตอนจนบรรลุความสำเร็จ ซึ่งเป็นทักษะที่มนุษย์เราทุกคนต้องใช้ มีความสำคัญยิ่งต่อทั้งความสำเร็จในการเรียน การทำงาน รวมทั้งการมีชีวิตครอบครัว ทักษะ EF นี้นักวิชาการระดับโลกชี้แล้วว่า สำคัญกว่า IQ ทั้งนี้ มีงานวิจัยชัดเจนว่า ช่วงวัย 3-6 ปีนี้ เป็นช่วงเวลาทองของชีวิตในการพัฒนาทักษะ EF ให้กับเด็ก เพราะสมองจะมีการพัฒนาทักษะ EF ได้ดีที่สุดในช่วงเวลานี้ พ้นจากช่วงเวลานี้ไปถึงวัยเรียน วัยรุ่น หรือวัยผู้ใหญ่ตอนต้น แม้จะยังพัฒนาได้ แต่ก็จะไม่ได้ดีเท่ากับช่วงปฐมวัย เด็กที่จะมีชีวิตที่ประสบความสำเร็จได้ต้องเป็นผู้ที่มีพัฒนาการที่สมวัยรอบด้าน ตลอดจน "EF" ดี คือ คิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น อยู่กับคนอื่นเป็น มีความสุขเป็น ซึ่งการพัฒนา "EF" พ่อแม่ ผู้ปกครองตลอดจนครูผู้ดูแลเด็ก เป็นผู้ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านให้กับเด็กปฐมวัย อย่างถูกต้องเข้าใจในธรรมชาติและความแตกต่างของเด็กในแต่ละคนและเป็นไปตามวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านด่านสันติราษฎร์ ได้เห็นถึงความสำคัญของผู้ที่ที่มีบทบาทต่อการส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านและการพัฒนา "EF" ของเด็กปฐมวัยจึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้่ทักษะทางด้านสมอง (EF) เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านด่านสันติราษฎร์ ให้มีพัฒนาการรอบด้านอย่างสมวัยและอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข
- 2. เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการของเด็กปฐมวัยให้มีความพร้อมรอบด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคม และสติปัญญา
- 3. เพื่อให้ผู้ปกครองและครู/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF) เด็กปฐมวัย
- 4.เพื่อให้ผู้ปกครองและครู/ผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือประเมินพัฒนาการเด็ก ด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
15
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
17
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านด่านสันติราษฎร์ ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF) ให้มีพัฒนาการรอบด้านอย่างสมวัยและอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข
2.เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านด่านสันติราษฎร์ มีความพร้อมรอบด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมร์ - จิตใจ สังคม และสติปัญญา
3.ผู้ปกครองและครู/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู็ทักษะทางด้านสมอง (EF) เด็กปฐมวัย
4.ผู้ปกครอง ครู/ผู้ดูแลเด็ก และผู้เกี่ยวข้อง มีความรู้ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือประเมินพัฒนาการเด็ก ด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้่ทักษะทางด้านสมอง (EF) เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านด่านสันติราษฎร์ ให้มีพัฒนาการรอบด้านอย่างสมวัยและอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข
ตัวชี้วัด :
32.00
2
2. เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการของเด็กปฐมวัยให้มีความพร้อมรอบด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคม และสติปัญญา
ตัวชี้วัด :
32.00
3
3. เพื่อให้ผู้ปกครองและครู/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF) เด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด :
32.00
4
4.เพื่อให้ผู้ปกครองและครู/ผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือประเมินพัฒนาการเด็ก ด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
32.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
32
32
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
15
15
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
17
17
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้่ทักษะทางด้านสมอง (EF) เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านด่านสันติราษฎร์ ให้มีพัฒนาการรอบด้านอย่างสมวัยและอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข (2) 2. เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการของเด็กปฐมวัยให้มีความพร้อมรอบด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคม และสติปัญญา (3) 3. เพื่อให้ผู้ปกครองและครู/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF) เด็กปฐมวัย (4) 4.เพื่อให้ผู้ปกครองและครู/ผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือประเมินพัฒนาการเด็ก ด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4128-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวเกวลี ดาฮาตอ ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านด่านสันติราษฎร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF) ”
ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวเกวลี ดาฮาตอ ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านด่านสันติราษฎร์
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4128-3-02 เลขที่ข้อตกลง 14/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะแมเราะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4128-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,980.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะแมเราะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันพัฒนาการของเด็กปฐมวัย เป็นที่น่าวิตกมากเมื่อพบว่าโดยภาพรวมแล้ว เด็กปฐมวัยมีแนวโน้มพัฒนาการล่าช้าในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย อารมณ์สังคมและสติปัญญา เนื่องจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป โดยที่พ่อแม่ ผู้ปกครองขาดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยดังนั้นจึงหาของเล่นที่สำเร็จรูปที่มีขายตามท้องตลาด โดยไม่คำนึงถึงว่าของเล่นนั้นๆสามารถส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยหรือไม่ สำหรับเด็กปฐมวัย การเล่นมีความสำคัญต่อการพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยเป็นอย่างมาก เพราะการเล่นถือว่าเป็นสิ่งสำคัญที่จะนำไปสู่กระบวนการเรียนรู้ของเด็กในอนาคตดังนั้น พ่อ แม่ และผู้เลี้ยงดู ต้องเข้าใจและสามารถนำของเล่น
หรือกิจกรรมการเล่นไปใช้กับเด็กได้อย่างเหมาะสมกับวัย เช่น กระดานลื่นยีราฟคอยาวช่วยส่งเสริมพัฒนาการในด้านร่างกายอารมณ์สังคมและสติปัญญาและกระดานหกม้า ช่วยส่งเสริมพัฒนาการในด้านร่างกายอารมณ์สังคมและสติปัญญาทำให้เด็กมีพัฒนาการทั้งทางด้านร่างกายอารมณ์สังคมและสติปัญญา ได้เหมาะสมกับวัยและเพื่อทำให้ทักษะการพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยก้าวไปอย่างมีคุณภาพซึ่งเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ในอนาคต EF (Executive Functions) เป็นกระบวนการทางความคิด (Mental process) ในสมองส่วนหน้า ที่เกี่ยวข้องกับการคิด ความรู้สึก และการกระทำ เช่น การยั้งใจคิดไตร่ตรอง การควบคุมอารมณ์ การยืดหยุ่นทางความคิด การตั้งเป้าหมาย วางแผน ความมุ่งมั่น การจดจำและเรียกใช้ข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดลำดับความสำคัญของเรื่องต่างๆ และการทำสิ่งต่างๆ อย่างเป็นขั้นเป็นตอนจนบรรลุความสำเร็จ ซึ่งเป็นทักษะที่มนุษย์เราทุกคนต้องใช้ มีความสำคัญยิ่งต่อทั้งความสำเร็จในการเรียน การทำงาน รวมทั้งการมีชีวิตครอบครัว ทักษะ EF นี้นักวิชาการระดับโลกชี้แล้วว่า สำคัญกว่า IQ ทั้งนี้ มีงานวิจัยชัดเจนว่า ช่วงวัย 3-6 ปีนี้ เป็นช่วงเวลาทองของชีวิตในการพัฒนาทักษะ EF ให้กับเด็ก เพราะสมองจะมีการพัฒนาทักษะ EF ได้ดีที่สุดในช่วงเวลานี้ พ้นจากช่วงเวลานี้ไปถึงวัยเรียน วัยรุ่น หรือวัยผู้ใหญ่ตอนต้น แม้จะยังพัฒนาได้ แต่ก็จะไม่ได้ดีเท่ากับช่วงปฐมวัย เด็กที่จะมีชีวิตที่ประสบความสำเร็จได้ต้องเป็นผู้ที่มีพัฒนาการที่สมวัยรอบด้าน ตลอดจน "EF" ดี คือ คิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น อยู่กับคนอื่นเป็น มีความสุขเป็น ซึ่งการพัฒนา "EF" พ่อแม่ ผู้ปกครองตลอดจนครูผู้ดูแลเด็ก เป็นผู้ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านให้กับเด็กปฐมวัย อย่างถูกต้องเข้าใจในธรรมชาติและความแตกต่างของเด็กในแต่ละคนและเป็นไปตามวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านด่านสันติราษฎร์ ได้เห็นถึงความสำคัญของผู้ที่ที่มีบทบาทต่อการส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านและการพัฒนา "EF" ของเด็กปฐมวัยจึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้่ทักษะทางด้านสมอง (EF) เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านด่านสันติราษฎร์ ให้มีพัฒนาการรอบด้านอย่างสมวัยและอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข
- 2. เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการของเด็กปฐมวัยให้มีความพร้อมรอบด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคม และสติปัญญา
- 3. เพื่อให้ผู้ปกครองและครู/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF) เด็กปฐมวัย
- 4.เพื่อให้ผู้ปกครองและครู/ผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือประเมินพัฒนาการเด็ก ด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 15 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 17 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านด่านสันติราษฎร์ ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF) ให้มีพัฒนาการรอบด้านอย่างสมวัยและอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข 2.เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านด่านสันติราษฎร์ มีความพร้อมรอบด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมร์ - จิตใจ สังคม และสติปัญญา 3.ผู้ปกครองและครู/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู็ทักษะทางด้านสมอง (EF) เด็กปฐมวัย 4.ผู้ปกครอง ครู/ผู้ดูแลเด็ก และผู้เกี่ยวข้อง มีความรู้ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือประเมินพัฒนาการเด็ก ด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้่ทักษะทางด้านสมอง (EF) เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านด่านสันติราษฎร์ ให้มีพัฒนาการรอบด้านอย่างสมวัยและอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข ตัวชี้วัด : |
32.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการของเด็กปฐมวัยให้มีความพร้อมรอบด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคม และสติปัญญา ตัวชี้วัด : |
32.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อให้ผู้ปกครองและครู/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF) เด็กปฐมวัย ตัวชี้วัด : |
32.00 |
|
||
4 | 4.เพื่อให้ผู้ปกครองและครู/ผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือประเมินพัฒนาการเด็ก ด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
32.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 32 | 32 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 15 | 15 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 17 | 17 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้่ทักษะทางด้านสมอง (EF) เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านด่านสันติราษฎร์ ให้มีพัฒนาการรอบด้านอย่างสมวัยและอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข (2) 2. เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการของเด็กปฐมวัยให้มีความพร้อมรอบด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคม และสติปัญญา (3) 3. เพื่อให้ผู้ปกครองและครู/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF) เด็กปฐมวัย (4) 4.เพื่อให้ผู้ปกครองและครู/ผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือประเมินพัฒนาการเด็ก ด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านและการเรียนรู้ทักษะทางด้านสมอง (EF) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4128-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวเกวลี ดาฮาตอ ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านด่านสันติราษฎร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......