กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัย สานสายใยสู่ชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางธิดา เหมือนพะวงศ์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัย สานสายใยสู่ชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 10/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัย สานสายใยสู่ชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัย สานสายใยสู่ชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัย สานสายใยสู่ชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดกรอบและทิศทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ โดยการขับเคลื่อนตามมาตรการ การสร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดีของประชาชนทุกกลุ่มวัย การเฝ้าระวัง เตือนภัยและลดปัจจัยเสี่ยงจากปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นฐานในรูปแบบใหม่ การนำเทคโนโลยีดิจิตัล สำหรับเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ ภายใต้การอภิบาลระบบการส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดี เพื่อให้ประชาชนได้รับการคุ้มครองสุขภาพทั้งภาวะปกติและภาวะวิกฤติ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพและบุคลากรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้มีศักยภาพพร้อมและเพียงพอ สามารถจัดบริการด้านสาธารณสุข การเฝ้าระวังโรค การควบคุมป้องกันโรคและภัยสุขภาพ การฟื้นฟูสภาพ การรักษาพยาบาล การสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มวัยต่างๆให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายอย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ โดยการจัดการดูแลปัญหาสุขภาพ แบบบูรณาการร่วมกันทุกภาคส่วนภายใต้บริบทของพื้นที่ในการส่งเสริมสุขภาพใน ๕ กลุ่มวัย (กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย กลุ่มเด็กวัยเรียน กลุ่มวัยรุ่น กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุ)ให้มีสุขภาพที่ดี เริ่มตั้งแต่ สตรีและเด็กปฐมวัย มีการตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กพัฒนาการสมวัย เด็กวัยเรียน วัยรุ่นเจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ วัยทำงานสุขภาพแข็งแรง ฉลาดรอบรู้และ เตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล มีการดำเนินงานพัฒนาให้ประชาชนมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองด้วยการจัดกิจกรรมเรียนรู้ ฝึกทักษะ การดูแลสุขภาพ และจัดปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพและการเสริมสร้างสุขภาพอย่างเพียงพอซึ่งจากการสำรวจ ร้อยละประชาชนในพื้นที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพระดับดีขึ้นไป ร้อยละ ๙๓.๐๒ โดยส่วนใหญ่ ร้อยละ ๗๖.๗๔ มีความรอบรู้ด้านสุขภาพอยู่ในระดับดีมาก รองลงมาคือระดับดี ร้อยละ ๑๖.๒๘ ซึ่งในการทำงานที่ผ่านมาได้รับรางวัลชุมชนต้นแบบดีเด่นด้านการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จึงมีแนวคิดในการพัฒนาต่อเนื่องให้มีทักษะสำหรับการพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพในช่วงวัยที่เหมาะสม ที่มีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ประสานการทำงานดูแลประชาชนที่บ้านและชุมชนแบบ “ใกล้ตัว ใกล้บ้าน ใกล้ใจ” เพิ่มความครอบคลุมให้ได้รับบริการต่อเนื่อง เน้นการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และส่งต่อรักษาในโรคซับซ้อนยุ่งยาก และการมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาพ ถือเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิตโดยเฉพาะกลุ่มวัยที่มีความสุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคและการเสียชีวิตแบบ ซึ่งปัจจุบัน กระทรวงสาธารณสุขให้ความสำคัญด้านสุขภาพของประชาชน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพจะนำไปสู่การดูแลสุขภาพ ตนเองอย่างเหมาะสม ด้วยหลักความรอบรู้ รอบคอบ มีเหตุผล และระมัดระวัง ในการดูแลสุขภาพ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพให้กับประชาชน เป็นการสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม ทั้งมิติด้าน ร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยให้ความสำคัญกับประชาชนทุก กลุ่มวัยส่งเสริมให้ประชาชน ในชุมชนดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม ภายใต้บริบทพื้นที่ ทั้งกลุ่มที่มีสุขภาพดี กลุ่มเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย และผู้ป่วยในชุมชนได้รับการ ดูแลที่เหมาะสม ด้วยความร่วมมือจากหน่วยงาน และชุมชน ให้เป็นชุมชนสุขภาพที่ดีอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
  4. เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ นักสุขภาพประจำครอบครัว (อบรมหลักสูตรนักปรับเปลี่ยนพติกรรมสุขภาพ )
  2. จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ ตรวจและรักษาทางทันตกรรมกรณีผิดปกติ นักเรียน ชั้นประถม ศึกษาปีที่ ๑-๖ โรงเรียนในเขตรับผิดชอบ อบต.ควนโดน
  3. จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เน้นกระบวนการ ๓ อ ๒ ส
  4. จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ และการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีรูปบบใหม่ หญิงอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป
  5. จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ ประชาชนกลุ่มเสี่ยงการปรับเปลี่ยนพติกรรมสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 120
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การฟื้นฟูสภาพครอบคลุม ตามเกณฑ์คุณภาพ สามารถดูแล สุขภาพ มีพฤติกรรมสุขภาพ ที่พึงประสงค์ตามบริบทของพื้นที่ ๒.ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสภาพ ครอบคลุมตามกลุ่มวัย ตามสิทธิประโยชน์ที่ควรได้รับ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง
3.00 50.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
3.00 50.00

 

3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง
4.00 50.00

 

4 เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีปัญหาฟันผุ
4.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 550
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 120
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) (4) เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ นักสุขภาพประจำครอบครัว (อบรมหลักสูตรนักปรับเปลี่ยนพติกรรมสุขภาพ ) (2) จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ ตรวจและรักษาทางทันตกรรมกรณีผิดปกติ นักเรียน ชั้นประถม ศึกษาปีที่ ๑-๖ โรงเรียนในเขตรับผิดชอบ อบต.ควนโดน (3) จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เน้นกระบวนการ ๓ อ ๒ ส (4) จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ และการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีรูปบบใหม่      หญิงอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป (5) จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ ประชาชนกลุ่มเสี่ยงการปรับเปลี่ยนพติกรรมสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัย สานสายใยสู่ชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธิดา เหมือนพะวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด