กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู


“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค มือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบ้านลูโบ๊ะบาตู ”

ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางมารีแย สนิ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค มือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบ้านลูโบ๊ะบาตู

ที่อยู่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2540-3-0002 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มิถุนายน 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค มือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบ้านลูโบ๊ะบาตู จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค มือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบ้านลูโบ๊ะบาตู



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค มือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบ้านลูโบ๊ะบาตู " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2540-3-0002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มิถุนายน 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมือ เท้า ปาก เป็นโรคที่พบบ่อยในกลุ่มเด็กที มีอายุต่ำกว่า 5 ปี และมักจะมีการระบาดในศูนย์เด็กเล็ก สถานรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียนอนุบาล และชุมชน สาเหตุเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่มที มีชื่อว่า เอนเทอโรไวรัส (Enterovirus) ซึ่งมีหลายสายพันธุ์ไวรัสตัวที่พบบ่อยคือ Coxsackie virus A16 ในรายที่ไม่รุนแรงอาจหายเองได้และสายพันธุ์ที่มักเกิดอาการรุนแรง คือ Enterovirus71 ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง เช่น ปอดบวม กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ สมองอักเสบ ซึ่งมักน่าไปสู่ภาวะหัวใจวาย ระบบหายใจล้มเหลว และอาจรุนแรงจนเสียชีวิตได้โดยโรคนี้เกิดจากการรับประทานอาหารโดยไม่ล้างมือ การดื่มน้ำ ดูดเลียนิ้วมือ อาการโดยทั่วไป จะมีไข้ เจ็บคอ มีตุ่มพองใสขนาด 1-2 มม. บนฐานจะมีตุ่มสีแดงกระจายอยู่ จะขยายกลายเป็นแผลคล้ายแผลร้อนใน โดยส่วนมากพบที่บริเวณในปาก กระพุ้งแก้ม เหงือก เพดานอ่อน ลิ้นไก่ มือ เท้า ก้น อวัยวะเพศ เข่า ข้อศอกของผู้ป่วย มักเป็นอยู่นาน 4-6 วัน หลังเริ่มมีอาการ และอาจมีอาการชักจากไข้สูงร่วมด้วย เนื่องจากเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมักจะอยู่รวมกันในอาคารเป็นส่วนใหญ่ มีการทำกิจกรรมและการเล่นของเล่นร่วมกัน ส่งผลให้เกิดการแพร่กระจายของโรคได้ง่ายขึ้น สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก ในประเทศไทย อ้างอิงข้อมูลจากกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขพบว่าในปี 2566 พบผู้ป่วย 65,324 ราย จาก 77 จังหวัด คิดเป็นอัตราป่วย 98.72 ต่อแสนประชากร เสียชีวิต 1 ราย อัตราส่วน เพศชายต่อเพศหญิง 1: 0.83 กลุ่มอายุที่พบมากที่สุด 3 อันดับ คือ 0-4 ปี (75.38%)5 ปี (10:12%)7-9 ปี (6.13%) สัญชาติไทยร้อยละ 95.9อื่นๆร้อยละ 2.7พม่าร้อยละ 1.0กัมพูชาร้อยละ 0.2ลาวร้อยละ 0.1จีน/ฮ่องกง/ไต้หวันร้อยละ 0.1มาเลเซียร้อยละ 0.0เวียนนามร้อยละ 0.0อาชีพส่วนใหญ่ ไม่ทราบ/ในปกครองร้อยละ 81.6 นักเรียนร้อยละ 16.9อื่นๆร้อยละ 0.8 ทั้งนี้กระทรวงสาธารณสุขได้แนะนำให้สถานศึกษาปฏิบัติตามมาตรการที่กรมควบคุมโรคกำหนด เพื่อป้องกันการเกิดโรคและการแพร่ระบาดของโรคโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูฝนของทุกปี (พฤษภาคม - ตุลาคม) และยังเป็นช่วงเปิดภาคเรียน จึงเป็นช่วงเวลาที่พบการแพร่ระบาดของโรคเป็นจำนวนมาก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตูสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลปะลุรู ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสุขอนามัยเด็กจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ครูผู้ดูแล ผู้ปกครองและเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคมือ เท้า ปาก และลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อ ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการและสุขภาพที่ดี
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์เด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค มือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบ้านลูโบ๊ะบาตู
  2. กิจกรรมสาธิตการทำความสะอาดมือที่ถูกวิธี
  3. กิจกรรม Big Cleaning Day ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตู

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 87
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ลดอัตราการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อให้ลดลงส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการและสุขภาพที่ดี 2.ผู้ปกครองของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตูได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์เด็กเล็ก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อ ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการและสุขภาพที่ดี
ตัวชี้วัด : ลดอัตราการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อ ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการและสุขภาพที่ดี ร้อยละ 50
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์เด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์เด็กเล็กร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 87
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 87
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อ ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการและสุขภาพที่ดี (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์เด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค มือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบ้านลูโบ๊ะบาตู (2) กิจกรรมสาธิตการทำความสะอาดมือที่ถูกวิธี (3) กิจกรรม Big Cleaning Day ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตู

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค มือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบ้านลูโบ๊ะบาตู จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2540-3-0002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมารีแย สนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด