กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ


“ โครงการ บ้าน ชุมชน โรงเรียน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอรวรรณ ทับทิมทอง

ชื่อโครงการ โครงการ บ้าน ชุมชน โรงเรียน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5214-2-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ บ้าน ชุมชน โรงเรียน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ บ้าน ชุมชน โรงเรียน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ บ้าน ชุมชน โรงเรียน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5214-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)       โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เนื่องจากความรุนแรงของโรคไข้เลือดออกส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วยเอง ชุมชน สังคม ตามลำดับ เพราะโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอดและได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนพบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกได้ลดลงและลดลงมากในช่วงสถานการณ์ COVID-19 ที่ระบาดรุนแรงในช่วงปี 2563-2564 แต่หลังจากสถานการณ์ COVID-19 ลดลงและเริ่มมีการผ่อนคลายมาตรต่างๆมีการเดินทางมากขึ้นพบเริ่มมีการระบาดของโรคไข้เลือดออกกลับมาเพิ่มขึ้นในช่วงปลายปี 2565-2566 ทั้งในระดับประเทศ จังหวัดสงขลาและในพื้นที่อำเภอเมืองสงขลาพบผู้ป่วยสูงในอันดับต้นๆของประเทศ จากข้อมูลสถานการณ์โรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสวนเรียนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าไทร ตำบลเกาะยอ พบผู้ป่วยไข้เลือดออกในปี 2561-2566 ดังตารางจำนวนผู้ป่วยและอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกระหว่างปี 2561-2566 (ใช้เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากร) จากการคาดการณ์ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา พบว่าจะมีการระบาดของโรคไข้เลือดออกสูงในช่วงปลายปี 2565 จนถึง 2566 หากไม่สามารถป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกให้สงบได้จะพบผู้ป่วยและเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก ซึ่งจะต้องมีมาตรการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก เชิงรุกและมีความต่อเนื่องและการกำจัดลูกน้ำยุงลายตามแหล่งเพาะพันธ์ในสถานที่ต่างๆ ได้แก่บริเวณบ้านเรือนในชุมชน โรงเรียน โรงแรม ศาสนสถาน โรงงานและสถานที่ราชการ และที่ขาดไม่ได้คือการเตรียมความพร้อมทรัพยากรในการควบคุมโรครวมถึงการสื่อสารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ประชาชนเกิดความตื่นตัว เปลี่ยนจากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะยอ จึงได้จัดทำโครงการ บ้าน ชุมชน โรงเรียน ปลอดลูกน้ำยุงลาย โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชักนำให้ประชากร องค์กร ชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อทเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกตามมาตรการ 3-3-1 (3=แจ้งโรคใน 3 ชม.,3=สอบสวนโรคในพื้นที่ใน 3 ชม.,และ 1= การควบคุมป้องกันยุงตัวเต็มวัยและกำจัดลูกน้ำยุงลายภายใน 1 วัน รัศมี 100 เมตร รอบบ้านผู้ป่วย ดำเนินการ 2 รอบห่างกัน 7 วัน)
  2. เพื่อเตรียมความพร้อมทรัพยากรในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 รณรงค์สำรวจลูกน้ำยุงลายทุกหมู่บ้าน
  2. กิจกรรมที่ 2 พ่นสารเคมี (หมอกควัน)
  3. กิจกรรมที่ 1 รณรงค์สำรวจลูกน้ำยุงลายทุกหมู่บ้าน
  4. กิจกรรมที่ 2 พ่นสารเคมี (หมอกควัน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ไม่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก 2.ค่า HI ไม่เกิน 5 ค่า CI = 0


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อทเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกตามมาตรการ 3-3-1 (3=แจ้งโรคใน 3 ชม.,3=สอบสวนโรคในพื้นที่ใน 3 ชม.,และ 1= การควบคุมป้องกันยุงตัวเต็มวัยและกำจัดลูกน้ำยุงลายภายใน 1 วัน รัศมี 100 เมตร รอบบ้านผู้ป่วย ดำเนินการ 2 รอบห่างกัน 7 วัน)
ตัวชี้วัด : ไม่เกิด 2nd generation คือ ไม่มีผู้ป่วยรายใหม่ใน 28 วัน หรือ 4 สัปดาห์ นับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายสุดท้ายในพื้นที่
60.00

 

2 เพื่อเตรียมความพร้อมทรัพยากรในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : สามารถดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกตามมาตรการควบคุมโรคได้อย่างรวดเร็ว (มาตรการ 3-3-1) ร้อยละ 100
60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อทเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกตามมาตรการ 3-3-1 (3=แจ้งโรคใน 3 ชม.,3=สอบสวนโรคในพื้นที่ใน 3 ชม.,และ 1= การควบคุมป้องกันยุงตัวเต็มวัยและกำจัดลูกน้ำยุงลายภายใน 1 วัน รัศมี 100 เมตร รอบบ้านผู้ป่วย ดำเนินการ 2 รอบห่างกัน 7 วัน) (2) เพื่อเตรียมความพร้อมทรัพยากรในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 รณรงค์สำรวจลูกน้ำยุงลายทุกหมู่บ้าน (2) กิจกรรมที่ 2 พ่นสารเคมี (หมอกควัน) (3) กิจกรรมที่ 1 รณรงค์สำรวจลูกน้ำยุงลายทุกหมู่บ้าน (4) กิจกรรมที่ 2 พ่นสารเคมี (หมอกควัน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ บ้าน ชุมชน โรงเรียน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5214-2-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอรวรรณ ทับทิมทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด