กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส


“ โครงการป้องกันภัยโรคติดต่อ ปี ๒๕๖๗ ”

ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางเพ็ญศรี บัวขำ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันภัยโรคติดต่อ ปี ๒๕๖๗

ที่อยู่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1521-01-04 เลขที่ข้อตกลง ............/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันภัยโรคติดต่อ ปี ๒๕๖๗ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันภัยโรคติดต่อ ปี ๒๕๖๗



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันภัยโรคติดต่อ ปี ๒๕๖๗ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1521-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,940.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กนักเรียนเป็นช่วงวัยที่สําคัญที่สุดของการวางรากฐานพัฒนาการทุกด้าน ทั้งทางร่างกาย อารมณ์ สภาพจิตใจ สังคม และสติปัญญา เป็นช่วงวัยแห่งพลังการเรียนรู้และการเจริญเติบโตของชีวิต ซึ่งการปูพื้นฐานให้เด็กมีความพร้อมนั้นขึ้นอยู่กับการฝึกอบรมเลี้ยงดูเด็กตั้งแต่เยาว์วัย เป็นช่วงระยะที่สําคัญที่สุดของพัฒนาการทุกด้าน มีธรรมชาติความเจริญที่แตกต่างจากวัยอื่นๆในช่วงชีวิตของความเป็นมนุษย์ ที่มุ่งให้เด็กมีพัฒนาการสมวัย โดยเฉพาะพัฒนาการด้านร่างกายซึ่งเป็นพัฒนาการที่มีความสําคัญอย่างยิ่ง ดังที่ได้กําหนดไว้ในมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ข้อที่ 1 คือ มีร่างกายเจริญเติบโตตามวัย และมีสุขนิสัยที่ดีโดยเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมวัย รู้จักการดูแลสุขภาพ การปฏิบัติตนตามสุขอนามัย รู้จักการรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นในกิจวัตรประจําวัน คุณลักษณะดังกล่าวเป็นสิ่งที่สําคัญที่ควรส่งเสริมให้กับเด็กนักเรียนเป็นอย่างแรก เพราะการมีร่างกายและมีสุขภาพที่ดีนั้นจะเป็นรากฐานที่สําคัญต่อการดํารงชีวิตของมนุษย์นับตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงสิ้นอายุขัย สุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์เป็นจุดเริ่มต้นของการส่งเสริมพัฒนาการในทุกๆด้าน     เมื่อกล่าวถึงผู้ที่มีความสำคัญในการจัดการ ควบคุมส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยส่งเสริมคุณภาพชีวิต สุขอนามัยพื้นฐานของเด็กนั้นก็คือ ครู พี่เลี้ยงเด็ก/ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง ซึ่งค่อยส่งเสริมความเป็นอยู่ของเด็กในโรงเรียนทุกคน ให้สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดี เด็กมีความสุข มีความสะดวกสบายในชีวิต ร่างกายมีความสะอาด ถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัยได้ส่งเสริมพัฒนาการ และความคิดสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม โรงเรียนที่มีการจัดการ ควบคุม ส่งเสริม และขจัดหรือลดปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อความเป็นอยู่ในโรงเรียน นอกจากนั้นเด็กควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง และการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขอนามัยที่ดีต่อตนเอง อันส่งผลต่อพฤติกรรมสุภาพที่ดี และปฏิบัติได้ถูกต้องเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในอนาคต ดังนั้นเด็กนักเรียนจำเป็นต้องได้รับการอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะต่างๆ เพื่อให้สามารถดูแลตนเองและคนรอบข้างได้ดียิ่งขึ้น และต่อเนื่อง ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลาเส เห็นความสำคัญ ในการส่งเสริมและเตรียมความพร้อม โดยเฉพาะทางด้านพฤติกรรมสุขภาพ และสุขอนามัยที่ดีสำหรับเด็กนักเรียน เตรียมความพร้อมตามมาตรการการป้องกันโรคติดต่อในโรงเรียน เนื่องด้วยปัจจุบัน โรคติดต่อสำคัญที่กระทรวงสาธารณสุขต้องป้องกันและควบคุมในโรงเรียน ได้แก่ โรคไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก โรคสุกใส โรคตาแดง และโรคอุจจาระร่วง ฯลฯ เป็นต้น โรคเหล่านี้เป็นโรคติดต่อที่สำคัญ สามารถติดต่อกันได้ง่ายระหว่างเด็กกับเด็กที่โรงเรียน หรือ เด็กกับเด็กที่บ้านได้ ผ่านการหายใจรดกัน ใช้สิ่งของร่วมกัน เป็นต้น รวมทั้งมีแนวโน้มอุบัติการณ์เพื่อมากขึ้น
    จากปัญหาและความสำคัญดังกล่าว ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง ได้เล็งเห็นตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการป้องกันภัยโรคติดต่อ ปี ๒๕๖๗ในเด็กนักเรียน โรงเรียนบ้านพรุเตย และโรงเรียนบ้านโตน ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2567 เพื่อให้เด็กนักเรียน มีความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญ การป้องกันและการควบคุมโรคติดต่อ มีสุขวิทยาส่วนบุคคลในการป้องกันการติดต่อของโรคที่จะเกิดกับนักเรียนได้อย่างถูกวิธีเหมาะสม และมีความตระหนักถึงความสำคัญของอันตรายของโรคติดต่อ การป้องกันและการควบคุมโรคได้อย่างถูกวิธีและเหมาะสมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑.จัดเตรียมข้อมูล ๒.ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๓.จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย 4.ประเมินผลการทำกิจกรรม 5.รายงานผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 130
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญอันตรายของโรคติดต่อ ป้องกันและการควบคุมโรคได้อย่างถูกวิธี
2. กลุ่มเป้าหมายมีสุขวิทยาส่วนบุคคลที่ถูกวิธีและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 130
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.จัดเตรียมข้อมูล ๒.ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๓.จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย    4.ประเมินผลการทำกิจกรรม 5.รายงานผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันภัยโรคติดต่อ ปี ๒๕๖๗ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1521-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเพ็ญศรี บัวขำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด