กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส


“ โครงการมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากเด็กกลุ่มวัยเรียน ”

ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางเพ็ญศรี บัวขำ

ชื่อโครงการ โครงการมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากเด็กกลุ่มวัยเรียน

ที่อยู่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1521-01-01 เลขที่ข้อตกลง ............./2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากเด็กกลุ่มวัยเรียน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากเด็กกลุ่มวัยเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากเด็กกลุ่มวัยเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1521-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,080.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในช่วงที่ผ่านมาภาครัฐได้มีการจัดบริการทางทันตสาธารณสุขให้แก่ประชาชนครอบคลุมในทุกกลุ่มอายุ โดยในเด็กประถมศึกษา มีการจัดบริการตามชุดสิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานในการให้บริการครอบคลุมการส่งเสริมป้องกัน รักษาและฟื้นฟูทางทันตสุขภาพ รวมถึงการพัฒนานโยบายและการจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ให้เอื้อต่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดี จากรายงานข้อมูลปัจจัยเสี่ยงด้านทันตสาธารณสุขปี 2565 พบว่า เด็กอายุ 6 - 12 ปี มีฟันผุร้อยละ 52 มีเหงือกอักเสบร้อยละ 66.3 สาเหตุสำคัญเกิดจากพฤติกรรมการดูแลความสะอาดในช่องปากไม่มีคุณภาพ และมีพฤติกรรมบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อฟันผุ โดยจากรายงานดังกล่าวพบว่าเด็กแปรงฟันก่อนนอนทุกวัน ร้อยละ 38.6 เด็กกินขนม/เครื่องดื่ม/ลูกอมระหว่างมื้อ ร้อยละ 32.6 ดื่มน้ำหวาน 4-7 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 45.7 เด็กที่ดื่มน้ำอัดลม 4-7 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 57.4 มีรายงานการจัดกิจกรรมด้านทันตสาธารณสุขต่างๆ เช่น การจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน การมีนโยบายโรงเรียนปลอดน้ำอัดลมเพิ่มมากขึ้น แต่พฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพช่องปากในเด็กและพฤติกรรมป้องกันโรคฟันผุกลับไม่ดีขึ้น และความชุกโรคฟันผุในเด็กยังคงสูงอยู่ และยังเป็นปัญหาที่สำคัญในเด็กวัยเรียน และจากผลการศึกษาการพัฒนารูปแบบงานอนามัยโรงเรียนที่มีคุณภาพในปี ๒๕๖5 พบว่านักเรียนชั้นประถมศึกษา มีความรอบรู้ด้านสุขภาพในระดับดีร้อยละ 67.5 พฤติกรรมด้านบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อสุขภาพช่องปากร้อยละ 30.7 และด้านการแปรงฟันร้อยละ 59.3 ตามลำดับ ด้านการมีข้อมูลสุขภาพประจำตัวนักเรียน พบว่ามีข้อมูลสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียนร้อยละ 89.2 ซึ่งข้อมูลสุขภาพช่องปากของนักเรียนมีไม่ครบทุกคน จะเห็นได้ว่าปัญหาสุขภาพช่องปากยังเป็นปัญหาที่สำคัญในเด็กวัยเรียน และเด็กวัยเรียนยังมีพฤติกรรมสุขภาพช่องปากที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค จากการเก็บรวบรวมข้อมูลการสำรวจสภาวะโรคฟันผุของเด็กและนักเรียนในโรงเรียนบ้านพรุเตยและโรงเรียนบ้านโตน จำนวน 130 คน โดยการแจ้งนัดให้ตรวจสุขภาพช่องปากเด็กและนักเรียนในทุกภาคเรียนของ      ปีการศึกษานั้นๆ พบว่า เด็กนักเรียนของโรงเรียนทั้ง 2 แห่ง มีสภาวะช่องปากปกติ จำนวน 75 คน และมีสภาวะปัญหาสุขภาพช่องปาก โดยแบ่งแยกออกเป็น มีสภาวะโรคฟันผุ จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 33.08 มีสภาวะเหงือกอักเสบ จำนวน ๙ คน ร้อยละ 6.92และมีสภาวะโรคฟันผุและเหงือกอักเสบ จำนวน 3 คน ร้อยละ 2.31 จึงแล้วนำผลการตรวจสุขภาพช่องปากมาพิจารณาหาที่มาของปัญหาโรคฟันผุและสภาวะเหงือกอักเสบ เพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคฟันผุและสภาวะเหงือกอักเสบภายในโรงเรียน ผลการการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาทันตสุขภาพ พบว่า เด็กที่มีปัญหาฟันผุทั้งหมด 43 คน คิดเป็นร้อยละ 33.08 แสดงให้เห็นว่าเด็กนักเรียนที่ยังไม่สามารถทำความสะอาดช่องปากได้ดีเท่าที่ควร นอกจากนั้นยังมีปัญหาทางด้านพฤติกรรมของเด็กนักเรียนที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ       ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลาเส จึงได้จัดทำโครงการมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากเด็กกลุ่มวัยเรียนขึ้น เพื่อให้นักเรียนเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างเหมาะสม โดยมุ่งเน้นบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพที่มีคุณภาพและครอบคลุม เพื่อหวังให้เด็กมีทันตสุขภาพที่ดีและดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกต้องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1กิจกรรมก่อนดำเนินการ 2.จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติโครงการ 3.ประสานโรงเรียนและครูประจำชั้น กิจกรรมอบรมความรู้ 4.ทำแบบทดสอบถามก่อนปฏิบัติและหลังปฏิบัติในเด็กประถมศึกษา 5.เคลือบฟลูออไรด์วานิชให้กับเด็กชั้นประถมศึกษาทุกคน คนละ 2 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 130
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เด็กนักเรียนในโรงเรียนบ้านพรุเตยและโรงเรียนบ้านโตน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ  ช่องปากที่ดีเพิ่มขึ้นและมีการมารับบริการทันตกรรมมากขึ้น ทำให้ปัญหาโรคฟันผุในเด็กวัยเรียนลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 130
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1กิจกรรมก่อนดำเนินการ 2.จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติโครงการ 3.ประสานโรงเรียนและครูประจำชั้น  กิจกรรมอบรมความรู้ 4.ทำแบบทดสอบถามก่อนปฏิบัติและหลังปฏิบัติในเด็กประถมศึกษา  5.เคลือบฟลูออไรด์วานิชให้กับเด็กชั้นประถมศึกษาทุกคน คนละ 2 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากเด็กกลุ่มวัยเรียน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1521-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเพ็ญศรี บัวขำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด