กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง หมู่ที่ 4 บ้านคลองขุด ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางชลาลัย ชูศรี

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง หมู่ที่ 4 บ้านคลองขุด

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 39/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง หมู่ที่ 4 บ้านคลองขุด จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง หมู่ที่ 4 บ้านคลองขุด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง หมู่ที่ 4 บ้านคลองขุด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,920.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก นับเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญปัญหาหนึ่ง จากรายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ปี พ.ศ.2567 (ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567-29 มกราคม 2567) มีผู้ป่วยสงสัยป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในอำเภอเมืองสตูล จำนวน 13 ราย เป็นเพศหญิง 7 ราย เพศชาย 6 ราย และผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออกในตำบลคลองขุดจำนวน 6 ราย
การเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ทำให้เป็นภาระของครอบครัว มีผลต่อการเรียน การทำงาน และค่าใช้จ่ายในการให้บริการรักษาพยาบาล และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ของครอบครัวผู้ป่วย ตลอดจนอาจมีผลให้ผู้ป่วยเสียชีวิตก่อนเวลาอันควร แม้ว่าทางการแพทย์และสาธารณสุขจะมีองค์ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการวินิจฉัย และการรักษาโรค รวมไปถึงเทคโนโลยีและวิธีการป้องกันและควบคุมโรค แต่ก็ยังไม่สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกให้หมดไปได้ และยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงต้องมีการป้องกันโรคไข้เลือดออก วิธีการป้องกันโรคไข้เลือดออกนั้นมีวิธีการหลากหลายวิธี แต่วิธีที่คนทั่วไปนิยมใช้ที่สุด คือการใช้สารเคมี ซึ่งให้ผลรวดเร็วทันใจ แต่การใช้สารเคมีอาจเกิดอันตรายต่อผู้บริโภค และเมื่อใช้ในปริมาณมากเกินไปอาจทำให้ผู้บริโภคเกิดอาการแพ้ได้ ซึ่งลำพังการรณรงค์ให้ประชาชนกำจัดลูกน้ำยุงลายพาหะของโรค ตามอาคารบ้านเรือน เพียงอย่างเดียวคงไม่พอ การป้องกันตนเองอย่างถูกวิธี โดยไม่ให้ถูกยุงลายกัด ควบคู่ไปกับการรณรงค์ที่ทำให้เกิดผลสัมฤทธิ์ยิ่งกว่า โดยเฉพาะการนำพืชสมุนไพรมาประยุกต์ใช้ในการป้องกันยุงลาย ยังส่งผลดีต่อผู้บริโภคและเป็นภูมิปัญญาดั้งเดิม ข้อดีคือสามารถไล่ยุงได้ ทำมาจากสมุนไพรธรรมชาติที่ชาวบ้านรู้จัก และนิยมปลูกเพื่อใช้ไล่ยุง ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านคลองขุด ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 4 บ้านคลองขุด จึงจัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ตะไคร้หอมสมุนไพรไล่ยุง หมู่ที่ 4 บ้านคลองขุด โดยการสร้างความเข้าใจ ตระหนักให้ความสำคัญ เพื่อให้เกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันโรคได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนผู้ได้รับผลกระทบจากโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้และหาแนวทางในการควบคุมโรคไข้เลือดออก และการทำสมุนไพรกำจัดลูกน้ำมาใช้ในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงลาย (CI=O) ในชุมชนสามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกครัวเรือน ให้มีจำนวนบ้านที่พบลูกน้ำยุงลายไม่เกินร้อยละ ๑๐ (ค่า HI ไม่เกิน ๑๐) ผลลัพธ์ ๑. อัตราการเกิดโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะลดลง ๒.ประชาชนทุกกลุ่มอายุ ตระหนักและเห็นความสำคัญของการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก ด้านการควบคุมพาหะด้านสิ่งแวดล้อม และการป้องกันโรค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนผู้ได้รับผลกระทบจากโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกลดลง
20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้ได้รับผลกระทบจากโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้และหาแนวทางในการควบคุมโรคไข้เลือดออก และการทำสมุนไพรกำจัดลูกน้ำมาใช้ในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง หมู่ที่ 4 บ้านคลองขุด จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางชลาลัย ชูศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด