โครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพ ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายดุษฎี ปาลกาลย์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพ
ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4141-01-02 เลขที่ข้อตกลง 006/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4141-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,140.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ปี 2560 โดยสำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุขพบว่ากลุ่มเด็กอายุ 12 ปี มีประสบการณ์โรคฟันแท้ผุร้อยละ 52.0 ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอนอุด 1.4 ซี่ ต่อคน มีภาวะเหงือกอักเสบ 66.3% จะเห็นได้ว่าเด็กไทยกว่า 50% มีปัญหาฟันผุ และมากกว่า 60 % ของผู้ใหญ่มีปัญหาโรคเหงือกอักเสบ ซึ่งมีปัจจัยเสี่ยงสำคัญ คือ พฤติกรรมการทำความสะอาดช่องปากที่ไม่เหมาะสม และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีแป้งและน้ำตาลสูง เช่น น้ำหวาน น้ำอัดลม ลูกอม ขนมกรุบกรอบ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามกระแสนิยม การมีโรคฟันผุเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบทั้งในระดับบุคคล สังคม และเศรษฐกิจ การป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาตั้งแต่เริ่มต้นจึงเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะในเด็กวัยประถมศึกษา ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุสูง เนื่องจากเป็นวัยที่เริ่มมีฟันแท้ขึ้นมาในช่องปาก สภาวะช่องปากของเด็กในกลุ่มนี้สามารถสะท้อนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากในโรงเรียนได้เป็นอย่างดี ดังนั้น นักเรียนและครูจึงเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักในการสร้างเสริมพฤติกรรมและสร้างสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง อีกทั้งเพื่อพัฒนาชมรมเด็กไทยฟันดี ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนอย่างยั่งยืน ส่งผลให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดีและเป็นการส่งเสริมป้องกันไม่ให้โรคในช่องปากเด็กวัยประถมศึกษาลุกลามและทวีความรุนแรงมากขึ้นกว่าเดิม
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพ เพื่อให้นักเรียนแกนนำมีความรู้และพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ฝึกทักษะและแปรงฟันที่ถูกวิธี และทำให้เกิดโรคฟันผุน้อยลงซึ่งจะช่วยลดอัตราการเกิดฟันผุ เหงือกอักเสบในช่องปากและเพื่อค้นหาผู้ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก เพื่อรับการรักษาหรือส่งต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพทางช่องปากต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้แกนนำนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพ
- เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีทักษะในการแปรงฟันที่ถูกต้องและตรวจคัดกรองโรคในช่องปากเบื้องต้น
- เพื่อให้เกิดชมรมเด็กไทยฟันดีในโรงเรียนและมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
35
กลุ่มวัยทำงาน
7
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มแกนนำนักเรียนมีความรู้และความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
2.มีการจัดตั้งชมรมเด็กไทยฟันดีในโรงเรียนประถมศึกษา
3.นักเรียนนำความรู้ไปถ่ายทอดความรู้ด้านทันตสุขภาพและขยายผลไปยังกลุ่มเพื่อนนักเรียนได้ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
วันที่ 22 สิงหาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน และคุณครู จำนวน 42 คน เรื่องบทบาทนักเรียนแกนนำด้านสุขภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโครงสร้างฟัน โรคฟันผุและการตรวจฟันเบื้องต้น การเลือกรับประทานอาหารที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพฟัน การดูแลรักษาความสะอาดในช่องปาก และการสาธิตการแปรงฟันพร้อมฝึกปฏิบัติ และการจัดตั้งชมรมและแนวทางการดำเนินงานชมรมเด็กไทยฟันดี นอกจากนี้มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู่ โดยวิทยากร นางนูฮารยาตี มะแซ ตำแหน่ง เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขชำนาญงาน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความสนุกสนานที่จะเรียนรู้ร่วมกัน และสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่และปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนทราบถึงบทบาทแกนนำนักเรียน ด้านทันตสุขภาพได้อย่างถูกต้องร้อยละ 100/ผ่านเกณฑ์
2.นักเรียนแกนนำ สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในกลุ่มเพื่อน และครอบครัวได้ร้อยละ 91.60 /ผ่านเกณฑ์
3.โรงเรียนประถมศึกษามีการจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ร้อยละ 100/ผ่านเกณฑ์
42
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้แกนนำนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของนักเรียนทราบถึงบทบาทแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
2
เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีทักษะในการแปรงฟันที่ถูกต้องและตรวจคัดกรองโรคในช่องปากเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของนักเรียนแกนนำ สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในกลุ่มเพื่อน และครอบครัวได้
3
เพื่อให้เกิดชมรมเด็กไทยฟันดีในโรงเรียนและมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : โรงเรียนประถมศึกษามีการจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ร้อยละ 100
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
42
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
35
35
กลุ่มวัยทำงาน
7
7
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้แกนนำนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพ (2) เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีทักษะในการแปรงฟันที่ถูกต้องและตรวจคัดกรองโรคในช่องปากเบื้องต้น (3) เพื่อให้เกิดชมรมเด็กไทยฟันดีในโรงเรียนและมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4141-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายดุษฎี ปาลกาลย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพ ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายดุษฎี ปาลกาลย์
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4141-01-02 เลขที่ข้อตกลง 006/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4141-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,140.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ปี 2560 โดยสำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุขพบว่ากลุ่มเด็กอายุ 12 ปี มีประสบการณ์โรคฟันแท้ผุร้อยละ 52.0 ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอนอุด 1.4 ซี่ ต่อคน มีภาวะเหงือกอักเสบ 66.3% จะเห็นได้ว่าเด็กไทยกว่า 50% มีปัญหาฟันผุ และมากกว่า 60 % ของผู้ใหญ่มีปัญหาโรคเหงือกอักเสบ ซึ่งมีปัจจัยเสี่ยงสำคัญ คือ พฤติกรรมการทำความสะอาดช่องปากที่ไม่เหมาะสม และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีแป้งและน้ำตาลสูง เช่น น้ำหวาน น้ำอัดลม ลูกอม ขนมกรุบกรอบ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามกระแสนิยม การมีโรคฟันผุเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบทั้งในระดับบุคคล สังคม และเศรษฐกิจ การป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาตั้งแต่เริ่มต้นจึงเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะในเด็กวัยประถมศึกษา ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุสูง เนื่องจากเป็นวัยที่เริ่มมีฟันแท้ขึ้นมาในช่องปาก สภาวะช่องปากของเด็กในกลุ่มนี้สามารถสะท้อนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากในโรงเรียนได้เป็นอย่างดี ดังนั้น นักเรียนและครูจึงเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักในการสร้างเสริมพฤติกรรมและสร้างสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง อีกทั้งเพื่อพัฒนาชมรมเด็กไทยฟันดี ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนอย่างยั่งยืน ส่งผลให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดีและเป็นการส่งเสริมป้องกันไม่ให้โรคในช่องปากเด็กวัยประถมศึกษาลุกลามและทวีความรุนแรงมากขึ้นกว่าเดิม
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพ เพื่อให้นักเรียนแกนนำมีความรู้และพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ฝึกทักษะและแปรงฟันที่ถูกวิธี และทำให้เกิดโรคฟันผุน้อยลงซึ่งจะช่วยลดอัตราการเกิดฟันผุ เหงือกอักเสบในช่องปากและเพื่อค้นหาผู้ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก เพื่อรับการรักษาหรือส่งต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพทางช่องปากต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้แกนนำนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพ
- เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีทักษะในการแปรงฟันที่ถูกต้องและตรวจคัดกรองโรคในช่องปากเบื้องต้น
- เพื่อให้เกิดชมรมเด็กไทยฟันดีในโรงเรียนและมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 35 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 7 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มแกนนำนักเรียนมีความรู้และความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
2.มีการจัดตั้งชมรมเด็กไทยฟันดีในโรงเรียนประถมศึกษา
3.นักเรียนนำความรู้ไปถ่ายทอดความรู้ด้านทันตสุขภาพและขยายผลไปยังกลุ่มเพื่อนนักเรียนได้ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ |
||
วันที่ 22 สิงหาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน และคุณครู จำนวน 42 คน เรื่องบทบาทนักเรียนแกนนำด้านสุขภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโครงสร้างฟัน โรคฟันผุและการตรวจฟันเบื้องต้น การเลือกรับประทานอาหารที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพฟัน การดูแลรักษาความสะอาดในช่องปาก และการสาธิตการแปรงฟันพร้อมฝึกปฏิบัติ และการจัดตั้งชมรมและแนวทางการดำเนินงานชมรมเด็กไทยฟันดี นอกจากนี้มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู่ โดยวิทยากร นางนูฮารยาตี มะแซ ตำแหน่ง เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขชำนาญงาน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความสนุกสนานที่จะเรียนรู้ร่วมกัน และสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่และปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนทราบถึงบทบาทแกนนำนักเรียน ด้านทันตสุขภาพได้อย่างถูกต้องร้อยละ 100/ผ่านเกณฑ์ 2.นักเรียนแกนนำ สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในกลุ่มเพื่อน และครอบครัวได้ร้อยละ 91.60 /ผ่านเกณฑ์ 3.โรงเรียนประถมศึกษามีการจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ร้อยละ 100/ผ่านเกณฑ์
|
42 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้แกนนำนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของนักเรียนทราบถึงบทบาทแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพได้อย่างถูกต้อง |
|
|||
2 | เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีทักษะในการแปรงฟันที่ถูกต้องและตรวจคัดกรองโรคในช่องปากเบื้องต้น ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของนักเรียนแกนนำ สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในกลุ่มเพื่อน และครอบครัวได้ |
|
|||
3 | เพื่อให้เกิดชมรมเด็กไทยฟันดีในโรงเรียนและมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : โรงเรียนประถมศึกษามีการจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ร้อยละ 100 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 42 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 35 | 35 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 7 | 7 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้แกนนำนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพ (2) เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีทักษะในการแปรงฟันที่ถูกต้องและตรวจคัดกรองโรคในช่องปากเบื้องต้น (3) เพื่อให้เกิดชมรมเด็กไทยฟันดีในโรงเรียนและมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4141-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายดุษฎี ปาลกาลย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......