โครงการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสะอาด หมู่เก็ม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
พฤษภาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5275-02-009 เลขที่ข้อตกลง 14
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 เมษายน 2567 ถึง 30 พฤษภาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5275-02-009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 เมษายน 2567 - 30 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,432.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามข้อกำหนดในศาสนาอิสลามที่เปิดกว้างให้เด็กเยาวชนและประชนชนทั่วไปเข้าสุนัต เป็นการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ ซึ่งเป็นที่รวมสิ่งสกปรกหมักหมมมีผลต่อสุขภาพระบบประสาท มีส่วนทำให้เกิดอาการคันรอบๆปลายอวัยวะเพศ ถ้าหนังปลายลึงค์ไม่ถูกตัดจะรวมหยดปัสสาวะและสิ่งตกค้างจากการร่วมเพศ เช่น เชื้ออสุจิ ซึ่งสิ่งเหล่านี้โดยธรรมชาติแล้วจะเป็นอาหารของเชื้อแบคทีเรียประเภทต่างๆ เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ มากมาย
ตามที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้กำหนดหลักเกณฑ์การดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือในระดับพื้นที่โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสร้างสุขภาพและป้องกันโรคตามสิทธิประโยชน์ของแต่ละวัย และเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ อัตราป่วยและอัตราตายที่เป็นปัญหาสำคัญของประเทศและเป็นการจัดการแก้ไขปัญหาสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียน เยาวชนและประชาชนทั่วไป
ดังนั้น ทางชมรม อสม. และกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ ๕ ได้ตระหนักผลดีของการทำสุนัตที่มีผลต่อสุขภาพและต่อกลุ่มเป้าหมายเด็ก เยาวชนและประชาชนทั่วไป จึงได้จัดโครงการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายสำหรับเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขในการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ โดยบุคลากรทางด้านสาธารณสุข
- ๒. เพื่อให้เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปได้รับบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหรืออาการข้างเคียงหลังผ่าตัด เพื่อเฝ้าระวังหลังจากการทำผ่าตัด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ๑. ประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานสุขภาพชุมชนเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ
- ๒. กิจกรรมให้ความรู้แก่เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปรวมทั้งผู้ปกครอง
- ๓. กิจกรรมบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เด็กเยาวชนและประชาชน ทั่วไป
- ๔. ติดตามเยี่ยม การดูแลของแผลภาวะแทรกซ้อนหลังการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศได้ตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขในการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ โดยบุคลากร ทางด้านสาธารณสุข
๒. เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปได้รับบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ โดยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหรืออาการข้างเคียงหลังผ่าตัด
๓. ผู้ปกครองเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปของผู้รับบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศมีความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ๑. ประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานสุขภาพชุมชนเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ
วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุม วางแผน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วม 10 คน คิดเป็นร้อยละ100 ของผู้เข้าร่วม
0
0
2. ๔. ติดตามเยี่ยม การดูแลของแผลภาวะแทรกซ้อนหลังการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศได้ตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป
วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
หลังกลุ่มเป้าหมายรับบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ คณะผู้จัดโครงการติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายทั้ง 40 คน ผลปรากฏว่า แผลจากการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศของเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ได้รับการดูแล ไม่มีการอักเสบ และไม่มีการติดเชื้อ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
หลังกลุ่มเป้าหมายรับบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ คณะผู้จัดโครงการติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายทั้ง 40 คน ผลปรากฏว่า แผลจากการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศของเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ได้รับการดูแล ไม่มีการอักเสบ และไม่มีการติดเชื้อ
0
0
3. ๒. กิจกรรมให้ความรู้แก่เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปรวมทั้งผู้ปกครอง
วันที่ 6 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคจากการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปรวมทั้งผู้ปกครอง วันที่ 6
พฤษภาคม 2567 เพื่อให้ตระหนักในการป้องกันโรค
โดยวิทยากร นายอดิศักดิ์ หมันหมาด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคจากการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปรวมทั้งผู้ปกครอง เพื่อให้ตระหนักในการป้องกันโรค
0
0
4. ๓. กิจกรรมบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เด็กเยาวชนและประชาชน ทั่วไป
วันที่ 6 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดบริการหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ในวันที่ 6 พฤษภาคม 2567 โดยมีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 40 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย
- ผู้เข้าร่วมขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป มีระดับความพึงพอใจในการเข้าร่วม
โครงการด้านวิทยากรในระดับมากด้านการบริหาร จัดการ ในระดับมาก และด้านประโยชน์ของกิจกรรมในระดับมากที่สุด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้เข้าร่วมขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป มีระดับความพึงพอใจในการเข้าร่วม
โครงการด้านวิทยากรในระดับมากด้านการบริหาร จัดการ ในระดับมาก และด้านประโยชน์ของกิจกรรมในระดับมากที่สุด
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
พบว่าผู้ปกครองเข้ารับบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย มีความพอใจต่อการบริการที่ได้รับการทำหัตการ ไม่ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน หรืออาการข้างเคียงหลังผ่าตัด และได้รับการทำหัตการที่ถูกวิธี โดยเจ้าหน้าที่บุคลากรสาธารณสุข
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อให้เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขในการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ โดยบุคลากรทางด้านสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๑๐๐ ของจำนวนเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขในการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโดยบุคลากรทางด้านสาธารณสุข
0.00
2
๒. เพื่อให้เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปได้รับบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหรืออาการข้างเคียงหลังผ่าตัด เพื่อเฝ้าระวังหลังจากการทำผ่าตัด
ตัวชี้วัด : ๑. เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปกลุ่มเป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐๐ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหรืออาการข้างเคียงหลังผ่าตัดขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ ได้รับการประเมินที่ถูกต้อง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขในการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ โดยบุคลากรทางด้านสาธารณสุข (2) ๒. เพื่อให้เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปได้รับบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหรืออาการข้างเคียงหลังผ่าตัด เพื่อเฝ้าระวังหลังจากการทำผ่าตัด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. ประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานสุขภาพชุมชนเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ (2) ๒. กิจกรรมให้ความรู้แก่เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปรวมทั้งผู้ปกครอง (3) ๓. กิจกรรมบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เด็กเยาวชนและประชาชน ทั่วไป (4) ๔. ติดตามเยี่ยม การดูแลของแผลภาวะแทรกซ้อนหลังการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศได้ตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5275-02-009
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสะอาด หมู่เก็ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสะอาด หมู่เก็ม
พฤษภาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5275-02-009 เลขที่ข้อตกลง 14
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 เมษายน 2567 ถึง 30 พฤษภาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5275-02-009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 เมษายน 2567 - 30 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,432.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามข้อกำหนดในศาสนาอิสลามที่เปิดกว้างให้เด็กเยาวชนและประชนชนทั่วไปเข้าสุนัต เป็นการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ ซึ่งเป็นที่รวมสิ่งสกปรกหมักหมมมีผลต่อสุขภาพระบบประสาท มีส่วนทำให้เกิดอาการคันรอบๆปลายอวัยวะเพศ ถ้าหนังปลายลึงค์ไม่ถูกตัดจะรวมหยดปัสสาวะและสิ่งตกค้างจากการร่วมเพศ เช่น เชื้ออสุจิ ซึ่งสิ่งเหล่านี้โดยธรรมชาติแล้วจะเป็นอาหารของเชื้อแบคทีเรียประเภทต่างๆ เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ มากมาย ตามที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้กำหนดหลักเกณฑ์การดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือในระดับพื้นที่โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสร้างสุขภาพและป้องกันโรคตามสิทธิประโยชน์ของแต่ละวัย และเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ อัตราป่วยและอัตราตายที่เป็นปัญหาสำคัญของประเทศและเป็นการจัดการแก้ไขปัญหาสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียน เยาวชนและประชาชนทั่วไป ดังนั้น ทางชมรม อสม. และกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ ๕ ได้ตระหนักผลดีของการทำสุนัตที่มีผลต่อสุขภาพและต่อกลุ่มเป้าหมายเด็ก เยาวชนและประชาชนทั่วไป จึงได้จัดโครงการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายสำหรับเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขในการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ โดยบุคลากรทางด้านสาธารณสุข
- ๒. เพื่อให้เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปได้รับบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหรืออาการข้างเคียงหลังผ่าตัด เพื่อเฝ้าระวังหลังจากการทำผ่าตัด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ๑. ประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานสุขภาพชุมชนเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ
- ๒. กิจกรรมให้ความรู้แก่เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปรวมทั้งผู้ปกครอง
- ๓. กิจกรรมบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เด็กเยาวชนและประชาชน ทั่วไป
- ๔. ติดตามเยี่ยม การดูแลของแผลภาวะแทรกซ้อนหลังการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศได้ตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขในการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ โดยบุคลากร ทางด้านสาธารณสุข ๒. เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปได้รับบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ โดยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหรืออาการข้างเคียงหลังผ่าตัด ๓. ผู้ปกครองเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปของผู้รับบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศมีความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ๑. ประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานสุขภาพชุมชนเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ |
||
วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุม วางแผน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วม 10 คน คิดเป็นร้อยละ100 ของผู้เข้าร่วม
|
0 | 0 |
2. ๔. ติดตามเยี่ยม การดูแลของแผลภาวะแทรกซ้อนหลังการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศได้ตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป |
||
วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำหลังกลุ่มเป้าหมายรับบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ คณะผู้จัดโครงการติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายทั้ง 40 คน ผลปรากฏว่า แผลจากการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศของเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ได้รับการดูแล ไม่มีการอักเสบ และไม่มีการติดเชื้อ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหลังกลุ่มเป้าหมายรับบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ คณะผู้จัดโครงการติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายทั้ง 40 คน ผลปรากฏว่า แผลจากการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศของเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ได้รับการดูแล ไม่มีการอักเสบ และไม่มีการติดเชื้อ
|
0 | 0 |
3. ๒. กิจกรรมให้ความรู้แก่เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปรวมทั้งผู้ปกครอง |
||
วันที่ 6 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคจากการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปรวมทั้งผู้ปกครอง วันที่ 6 พฤษภาคม 2567 เพื่อให้ตระหนักในการป้องกันโรค โดยวิทยากร นายอดิศักดิ์ หมันหมาด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคจากการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปรวมทั้งผู้ปกครอง เพื่อให้ตระหนักในการป้องกันโรค
|
0 | 0 |
4. ๓. กิจกรรมบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เด็กเยาวชนและประชาชน ทั่วไป |
||
วันที่ 6 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดบริการหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ในวันที่ 6 พฤษภาคม 2567 โดยมีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 40 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย - ผู้เข้าร่วมขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป มีระดับความพึงพอใจในการเข้าร่วม โครงการด้านวิทยากรในระดับมากด้านการบริหาร จัดการ ในระดับมาก และด้านประโยชน์ของกิจกรรมในระดับมากที่สุด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
พบว่าผู้ปกครองเข้ารับบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย มีความพอใจต่อการบริการที่ได้รับการทำหัตการ ไม่ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน หรืออาการข้างเคียงหลังผ่าตัด และได้รับการทำหัตการที่ถูกวิธี โดยเจ้าหน้าที่บุคลากรสาธารณสุข
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อให้เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขในการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ โดยบุคลากรทางด้านสาธารณสุข ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๑๐๐ ของจำนวนเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขในการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโดยบุคลากรทางด้านสาธารณสุข |
0.00 |
|
||
2 | ๒. เพื่อให้เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปได้รับบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหรืออาการข้างเคียงหลังผ่าตัด เพื่อเฝ้าระวังหลังจากการทำผ่าตัด ตัวชี้วัด : ๑. เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปกลุ่มเป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐๐ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหรืออาการข้างเคียงหลังผ่าตัดขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ ได้รับการประเมินที่ถูกต้อง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขในการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ โดยบุคลากรทางด้านสาธารณสุข (2) ๒. เพื่อให้เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปได้รับบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหรืออาการข้างเคียงหลังผ่าตัด เพื่อเฝ้าระวังหลังจากการทำผ่าตัด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. ประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานสุขภาพชุมชนเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ (2) ๒. กิจกรรมให้ความรู้แก่เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปรวมทั้งผู้ปกครอง (3) ๓. กิจกรรมบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เด็กเยาวชนและประชาชน ทั่วไป (4) ๔. ติดตามเยี่ยม การดูแลของแผลภาวะแทรกซ้อนหลังการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศได้ตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5275-02-009
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสะอาด หมู่เก็ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......