กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเซะ


“ โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีความสุข ปี 2567 ”

ตำบลตาเซะ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสุไลมาน มะแซ

ชื่อโครงการ โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีความสุข ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลตาเซะ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 29/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีความสุข ปี 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเซะ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเซะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีความสุข ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีความสุข ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเซะ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเซะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     การฝากครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากรเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เพื่อการตั้งครรภ์และ การคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อนและมีสุขภาพแข็งแรงครรภ์คุณภาพเป็นเป้าหมายหลักของการให้บริการฝากครรภ์ทุกหน่วยบริการสาธารณสุข ซึ่ง จุดเริ่มต้นที่สำคัญของการฝากครรภ์คุณภาพคือการที่หญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ เพื่อให้สามารถให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ได้ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ในไตรมาสแรก ช่วยในการค้นหาหญิง ตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือมีภาวะแทรกซ้อนต่างๆให้ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมและมีคุณภาพ เกิดความ ปลอดภัยทั้งมารดาและทารกในครรภ์ ทุกวันนี้ ในโลกยังมีผู้หญิงเสียชีวิต จากปัญหาเกี่ยวกับการตั้งครรภ์และการคลอด และมีอีกนับหมื่นๆ คนที่ประสบภาวะแทรกซ้อน สำหรับประเทศไทย โดยเฉลี่ยผู้หญิงเสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด วันละ 1-2 คนมีแม่และเด็กจำนวนมากเจ็บป่วยรุนแรงถึงพิการ จากสาเหตุส่วนใหญ่ที่สามารถป้องกันได้อันตรายจากการตั้งครรภ์และการคลอดลูกจะลดลงได้ เมื่อผู้หญิงมีสุขภาพแข็งแรง และมีภาวะโภชนาการดีตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ มีการตั้งครรภ์เมื่อพร้อม   สถานการณ์งานแม่และเด็กปี 2566 พบว่าอัตราส่วนการตายมารดาเท่ากับ 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน สาเหตุการตายหลัก ได้แก่ การตกเลือดหลังคลอด และความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 83.67 หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเสริมไอโอดีนร้อยละ 100 หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 10 ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 15 อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน ร้อยละ 94.76 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ เท่ากับ 86.54 ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ เท่ากับร้อยละ 89.83 (HDC,15 ก.ย.2566) จากการดำเนินงานการอนามัยแม่และเด็กยังคงพบว่า ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม มีร้อยละที่มากว่า ร้อยละ 5.66 ซึ่งอาจจะส่งผลทำให้ทารกแรกเกิดมีปัญหาทางด้านสุขภาพกายและอาจจะทำให้เกิดปัญหาทางด้านพัฒนาการล่าช้าได้
    ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาเซะ ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำ โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีความสุข ปี2567 เพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ มีภาวะโภชนาการดีตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ มีการตั้งครรภ์เมื่อพร้อมตั้งแต่อายุ 20 ปีขึ้นไป ไปรับการตรวจสุขภาพเร็วที่สุดตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ รับการตรวจครรภ์เป็นระยะอย่างสม่ำเสมอ ฝากครรภ์อย่างน้อย 5 ครั้ง และได้รับการคลอดในโรงพยาบาล

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด อสม.มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
  2. เพื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
  3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์
  4. หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้ง
  5. ทารากแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 70
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด อสม.จะมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพมารดาและทารกได้ 2.อัตราการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์เพิ่มขึ้น 3.หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการดูแลตลอดระยะของการตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ 4.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อนคลอด ครบ 5 ครั้งตามมาตรฐาน 5.หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้ง 6.ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์น้อยลง 7.ส่งเสริมให้มารดาเลี้ยงเด็กแรกเกิด-6 เดือน ได้กินนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด อสม.มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90
    90.00

     

    2 เพื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75
    75.00

     

    3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75
    75.00

     

    4 หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้ง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75
    75.00

     

    5 ทารากแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 70
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด อสม.มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ (2) เพื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์ (4) หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้ง (5) ทารากแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีความสุข ปี 2567 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุไลมาน มะแซ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด