แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ ปัญหาการใช้เครื่องสำอางค์และผลิตภัณฑ์สุขภาพ กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้โทษและผลกระทบจากการใช้เครื่องสำอางค์และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน คณะทำงาสน 12 คน ตัวเเทนชุมชน 48 คน รวมจำนวน 60 ค | 1 มิ.ย. 2567 | 20 ก.ค. 2567 |
|
ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 เตรียมวางเเผนการดำเนินโครงการแบ่งบทบาทหน้าที่ |
|
.จากการจัดกิจกรรมได้ทราบถึงข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ผู้บริโภคถูกเอาเปรียบและได้รับผลกระทบจากผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ อย.จึงเข้ามามีบทบาทในการสืบสวนหาสาเหตุ และได้ประกาศรายชื่อสารต้องห้ามใช้เป็นส่วนประกอบในเครื่องสำอาง ได้แก่ สารปรอท สารไฮโดรควิโนน สารสเตียรอยด์ และกรดเรติโนอิก ซึ่งสารดังกล่าวให้โทษดังนี้ สารสเตียรอยด์ พบบ่อยในเครื่องสำอาง หลังใช้ไป 2-4 สัปดาห์ จะทำให้ผิวบางลง ผิวอ่อนแอ ระคายเคืองเกิดผดผื่นหรือสิวอุดตันได้ง่าย สารปรอท ทำให้ฝ้า กระ สิวลดลง ช่วยให้ผิวขาวขึ้น หากใช้ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานจะทำให้เกิดพิษสะสมในผิวหนัง ทำให้สีผิวคล้ำลงกลายเป็นสีดำอมเทาและดูดซึมเข้าสู่เลือด ทำให้ตับและไตอักเสบหรือทำลายระบบประสาทส่วนกลาง หากใช้ในสตรีมีครรภ์ อาจทำให้เกิดทารกพิการและปัญญาอ่อนได้ สารไฮโดรควิโนน มักพบในครีมรักษาฝ้า หากใช้เกินขนาด อาจทำให้เกิดอาการแสบร้อน ตุ่มแดง และสีผิวคล้ำขึ้นในบริเวณที่ทา อาจรุนแรงจนกลายเป็นฝ้าถาวรได้ กรดเรติโนอิก ต้องขึ้นทะเบียนเป็นยาเท่านั้น หากอยู่ในเครื่องสำอางจะจัดเป็นสารอันตราย เนื่องจากมีฤทธิ์ในการผลัดเซลล์ผิวหนัง ทำให้ผิวหนังเกิดการระคายเคือง ลอก แดง หรือผิวหนังบางลงได้ ได้รับความรู้เรื่องโทษ และผลข้างเคียงแล้ว ยังรู้ถึงช่องทางการร้องเรียนเมื่อมีผลกระทบของผู้บริโภคด้วยวิธีการเลือกใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ให้ผู้บริโภคเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากสถานที่จำหน่ายที่มีหลักแหล่งน่าเชื่อถือ และก่อนตัดสินใจซื้อควรสังเกตฉลากผลิตภัณฑ์ โดยฉลากต้องมีข้อความภาษาไทย ระบุข้อความอันจำเป็นครบถ้วน ได้แก่ ชื่อและชนิดของเครื่องสำอาง เลขที่รับแจ้ง เป็นเลขสิบหลัก สารที่ใช้เป็นส่วนผสม วิธีการใช้ ชื่อที่ตั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้า ปริมาณสุทธิ เลขที่แสดงครั้งที่ผลิต เดือนปีที่ผลิต และคำเตือน อย่างไรก็ตาม หากผู้บริโภคพบผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ไม่ได้มาตรฐาน หรือได้รับอันตรายจากการใช้เครื่องสำอาง ให้ร้องเรียนสายด่วน อย. โทร 1556 หรือส่งจดหมายไปที่ ตู้ปณ.1556 ปณฝ.กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี 11004 เพื่อ อย.ได้ตรวจสอบและดำเนินการตามกฎหมายต่อไปจากการทดสอบเครื่องสำอางของการอบรม 30 ตัวอย่าง สรุปเจอสารสเตียรอยด์ 5 ตัวอย่างที่สีผลิตภัณฑ์เปลี่ยนไปจากเดิมเมื่อเทียบกับผลของชุดทดสอบ |
|
กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องสำอางค์และผลิภัณฑ์สุขภาพ | 24 ก.ค. 2567 | 24 ก.ค. 2567 |
|
สำรวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องสำอางค์และผลิภัณฑ์สุขภาพ |
|
ประชาชนได้รับข้อมูลประชาสัมพันธ์ในการเลือกซื้อเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน ร้อยละ 90 |
|
กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้ | 28 ก.ค. 2567 | 28 ก.ค. 2567 |
|
1. ประชุมคณะทำงาน 2. โครงการเพื่อขออนุมัติ 3. ติดต่อประสานงานวิทยากร และผู้เกี่ยวข้อง 4. ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ 5. อบรมให้ความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอาง / ปรับทัศนคติ / ทดสอบสารสเตียรอยด์ในเครื่องสำอาง 6. สรุปผลการดำเนินงาน |
|
.จากการจัดกิจกรรมได้ทราบถึงข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ผู้บริโภคถูกเอาเปรียบและได้รับผลกระทบจากผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ อย.จึงเข้ามามีบทบาทในการสืบสวนหาสาเหตุ และได้ประกาศรายชื่อสารต้องห้ามใช้เป็นส่วนประกอบในเครื่องสำอาง ได้แก่ สารปรอท สารไฮโดรควิโนน สารสเตียรอยด์ และกรดเรติโนอิก ซึ่งสารดังกล่าวให้โทษดังนี้ สารสเตียรอยด์ พบบ่อยในเครื่องสำอาง หลังใช้ไป 2-4 สัปดาห์ จะทำให้ผิวบางลง ผิวอ่อนแอ ระคายเคืองเกิดผดผื่นหรือสิวอุดตันได้ง่าย สารปรอท ทำให้ฝ้า กระ สิวลดลง ช่วยให้ผิวขาวขึ้น หากใช้ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานจะทำให้เกิดพิษสะสมในผิวหนัง ทำให้สีผิวคล้ำลงกลายเป็นสีดำอมเทาและดูดซึมเข้าสู่เลือด ทำให้ตับและไตอักเสบหรือทำลายระบบประสาทส่วนกลาง หากใช้ในสตรีมีครรภ์ อาจทำให้เกิดทารกพิการและปัญญาอ่อนได้ารไฮโดรควิโนน มักพบในครีมรักษาฝ้า หากใช้เกินขนาด อาจทำให้เกิดอาการแสบร้อน ตุ่มแดง และสีผิวคล้ำขึ้นในบริเวณที่ทา อาจรุนแรงจนกลายเป็นฝ้าถาวรได้กรดเรติโนอิก ต้องขึ้นทะเบียนเป็นยาเท่านั้น หากอยู่ในเครื่องสำอางจะจัดเป็นสารอันตราย เนื่องจากมีฤทธิ์ในการผลัดเซลล์ผิวหนัง ทำให้ผิวหนังเกิดการระคายเคือง ลอก แดง หรือผิวหนังบางลงได้ ได้รับความรู้เรื่องโทษ และผลข้างเคียงแล้ว ยังรู้ถึงช่องทางการร้องเรียนเมื่อมีผลกระทบของผู้บริโภคด้วยวิธีการเลือกใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ให้ผู้บริโภคเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากสถานที่จำหน่ายที่มีหลักแหล่งน่าเชื่อถือ และก่อนตัดสินใจซื้อควรสังเกตฉลากผลิตภัณฑ์ โดยฉลากต้องมีข้อความภาษาไทย ระบุข้อความอันจำเป็นครบถ้วน ได้แก่ ชื่อและชนิดของเครื่องสำอาง เลขที่รับแจ้ง เป็นเลขสิบหลัก สารที่ใช้เป็นส่วนผสม วิธีการใช้ ชื่อที่ตั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้า ปริมาณสุทธิ เลขที่แสดงครั้งที่ผลิต เดือนปีที่ผลิต และคำเตือน อย่างไรก็ตาม หากผู้บริโภคพบผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ไม่ได้มาตรฐาน หรือได้รับอันตรายจากการใช้เครื่องสำอาง ให้ร้องเรียนสายด่วน อย. โทร 1556 หรือส่งจดหมายไปที่ ตู้ปณ.1556 ปณฝ.กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี 11004 เพื่อ อย.ได้ตรวจสอบและดำเนินการตามกฎหมายต่อไปจากการทดสอบเครื่องสำอางของการอบรม 30 ตัวอย่าง สรุปเจอสารสเตียรอยด์ 5 ตัวอย่างที่สีผลิตภัณฑ์เปลี่ยนไปจากเดิมเมื่อเทียบกับผลของชุดทดสอบ |
|
กิจกรรมประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 สรุปผลการดำเนินงานโครงการถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ | 31 ก.ค. 2567 | 31 ก.ค. 2567 |
|
สรุปผลการดำเนินงานโครงการถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ |
|
1.ประชาชนมีความรู้ ตระหนักรู้ สามารถบอกต่อถึงโทษของเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ 2.ประชาชนเกิดสุขภาพที่ดี ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม 3.ประชาชนได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากการใช้ผลิตภัณฑ์ |
|