กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคนำโดยแมลง(ไข้เลือดออกและไข้มาลาเรีย)
รหัสโครงการ 022/2567
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลกาบัง
วันที่อนุมัติ 2 กุมภาพันธ์ 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 23 กันยายน 2567
งบประมาณ 18,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอับดุลกอเดร์ แวมามะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของพื้นที่อำเภอกาบังในช่วง 5 ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี 2562 - 2566 คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 159.06 ,266.22 ,308.61 ,373.56 และ 59.67 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ เป็นประชาชนในพื้นที่กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลกาบัง ตำบลกาบัง คิดเป็นอัตราป่วย 132.80 ,0 ,309.87 ,327.67 และ 0 ต่อแสนประชากรตามลำดับพบว่ามีผู้ป่วยเกิดขึ้นทุกปีและสถานการณ์โรคไข้มาลาเรียของพื้นที่อำเภอกาบังในช่วง 5 ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี 2562 - 2566 คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 583.00 ,305.64 ,335.15 ,351.01 และ 141.91 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ เป็นประชาชนในพื้นที่กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลกาบัง ตำบลกาบัง คิดเป็นอัตราป่วย 487.33 ,260.48 ,177.07 ,94.22 ,101.83 ต่อแสนประชากร ตามลำดับพบว่าอัตราป่วยเกิดขึ้นทุกปี ดังนั้นแนวโน้มการระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคไข้มาลาเรียมีเกิดการระบาดอยู่ทุกปี และการพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and rapid response Team: SRRT) ในเรื่องของการเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติ เป็นกลไกหนึ่งที่ในการจัดการกับปัญหาการเกิดโรค ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข หรือภัยคุกคามสุขภาพมีผลกระทบทางสุขภาพการเจ็บป่วย และเสียชีวิต สามารถรู้เหตุการณ์ของโรคได้อย่างรวดเร็ว และตอบสนองต่อปัญหาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายภาคประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นาชุมชน ดังนั้น กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลกาบัง จึงได้จัดทำเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออกในพื้นที่หมู่ที่ 4 ,7 และ 7 ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา ปี 2567 เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือของโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออกก่อนฤดูกาลระบาด เพื่อลดอัตราป่วย และการค้นหาผู้ป่วยในพื้นที่ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ไม่มีผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออกเกิดในรายที่ 2 ในระยะ 2 เท่าระยะฟักตัว

 

0.00 0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 18,800.00 0 0.00
1 มี.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 พ่นหวอกควันในพื้นที่ 0 8,800.00 -
1 มี.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 พ่นสารเคมีตกค้างในพื้นที่ 0 10,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ไม่มีผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออกเกิดในรายที่ 2 ในระยะ 2 เท่าระยะฟักตัว

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 พ.ค. 2567 00:00 น.