กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาวง


“ โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลนาวง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายอัมพร หาขุน

ชื่อโครงการ โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลนาวง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1531-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาวง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาวง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1531-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่าและมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศชาติในอนาคตการพัฒนาเด็กให้ได้รับความพร้อมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา จึงนับเป็นภารกิจสำคัญของหน่วยงานซึ่งรับผิดชอบจะต้องตระหนัก และให้ความสนใจเพื่อให้การพัฒนาเด็กเป็นไปอย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐานเหมาะสมกับวัย ปัจจุบันเด็กนักเรียนในโรงเรียนบ้านหนองหมอ ส่วนมากมีผู้ปกครองประกอบอาชีพเกษตรกรรม คือการกรีดยางพารา ซึ่งต้องทำงานตั้งแต่กลางคืนจนถึงกลางวัน โดยเฉพาะในช่วงเช้าที่ต้องส่งลูกไปโรงเรียนมักเป็นเวลาต้องเก็บน้ำยาง ทำให้การเอาใจใส่ลูกเรื่องการกินอาหารเช้าไม่ค่อยสมบูรณ์ เด็กส่วนมากไม่ได้รับอาหารเช้าก่อนมาเรียน ทำให้ขาดการเตรียมพร้อมสำหรับเด็กที่ควรได้รับสารอาหาร โดยเฉพาะอาหารเช้าซึ่งเป็นมื้อสำคัญสำหรับเด็กที่กำลังเจริญเติบโต เป็นภาวะเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการในเด็ก และการพัฒนาทางด้านร่างกายของเด็กเป็นไปอย่างล่าช้าได้
ในภาคเรียนที 2/2560 โรงเรียนบ้านป่ากอได้ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กทุกคนแล้ว โดยเปรียบเทียบตามเกณฑ์ของกรมอนามัยตามช่วงอายุของเด็ก ปรากฏว่า มีเด็กที่มีทุพภาวะโภชนาการ จำนวน 27 คน จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่ต้องดำเนินการส่งเสริมด้านโภชนาการให้แก่เด็ก อันเป็นการส่งเสริมการพัฒนาทางด้านร่างกายให้แก่เด็ก ให้ได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของชาติที่เน้นการพัฒนาผู้เรียน(เด็กและเยาวชน) ให้ เก่ง ดี มีความสุขทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจและสติปัญญาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่่อแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 27
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    เด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการ มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการเด็ก

    วันที่ 11 มกราคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    -ตรวจชั่งน้ำหนักส่วนสูง -จัดหาพัสดุ นม/ไข่ และให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ดื่มคนละ 1 ฟอง นมคนละ 1 กล่องรวม 100 วัน -จัดหาพัสดุ และจัดกิจกรรมให้เด็กอ้วนออกกำลังกายทุกวัน รวม 100วัน -ตรวจชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง หลังเสร็จกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต -เด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 15 คน เกินเกณฑ์ 12 คน ผลลัพธ์ -มีน้ำหนักตามเกณฑ์ครบทุกคน

     

    27 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลผลิต -เด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 15 คน เกินเกณฑ์ 12 คน ผลลัพธ์ -มีน้ำหนักตามเกณฑ์ครบทุกคน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่่อแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน
    ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนอย่างน้อยร้อยละ 60 ที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ของกรมอนามัย
    27.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 27
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 27
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่่อแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 61-L1531-02-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอัมพร หาขุน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด