โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย จิตและสมองในเด็ก ( ด้วยหลัก 3 อ.อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย จิตและสมองในเด็ก ( ด้วยหลัก 3 อ.อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) ”
ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายปรัตถกร กรมเมือง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย จิตและสมองในเด็ก ( ด้วยหลัก 3 อ.อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย)
ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3306-02-006 เลขที่ข้อตกลง 8/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย จิตและสมองในเด็ก ( ด้วยหลัก 3 อ.อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย จิตและสมองในเด็ก ( ด้วยหลัก 3 อ.อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย จิตและสมองในเด็ก ( ด้วยหลัก 3 อ.อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2567-L3306-02-006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,670.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสําคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กในชุมชน ซึ่งนับว่าเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสําคัญยิ่งที่จะต้องเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่สามารถใช้ชีวิตอย่างเท่าเทียมและ อยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สุขภาพกายและสุขภาพจิตเด็กควรจะได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ โดยมุ่งหวังให้เด็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ ทางด้านร่างกาย อารมณ์สังคม และสติปัญญา ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ นอกจากครอบครัวและโรงเรียนแล้ว ชุมชนนับว่ามีบทบาทสําคัญยิ่งในการให้ความร่วมมือและการพัฒนาคุณภาพด้านการศึกษาและสุขภาพ เพื่อพัฒนาศักยภาพให้เด็กเป็นผู้ที่มีสุขภาพชีวิตที่ดีมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตทีดี ซึ่งจะปลูกฝังให้เกิดการปฏิบัติตนที่ถูกต้องตามสุขนิสัยสุขปฏิบัติ และการจัดการทางอารมณ์โดยมีการพัฒนาที่เหมาะสมตามวัยเต็มตามศักยภาพ ตามเกณฑ์ และมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อผู้อื่น ซึ่งจะนำไปสู่ภาวะที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกายอารมณ์ – จิตใจ สังคม และสติปัญญา
กลุ่มรักษ์ศิลปะ บ้านศิลป์มาลาดิน ซึ่งเป็นองค์กรประชาชน เห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพกาย จิตในเด็ก ( ด้วยหลัก 3 อ.อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กในชุมชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ในช่วงวันหยุดเรียน มาเรียนรู้การดูแลสุขภาพของตนเองทั้งด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการอารมณ์โดยใช้ศิลปะ ในการจัดการ ให้เด็กๆมีพัฒนาการที่ดียิ่งขึ้นไปและสมกับวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลและรักษาสุขภาพของตนเอง
- เพื่อให้เด็กรู้จักการออกกำลังกายที่ถูกต้องตามวัย
- เพื่อให้เด็กใช้งานศิลปะในการจัดการอารมณ์ของตัวเอง และฝึกสมาธิ
- เพื่อให้เด็กได้รู้ และเข้าใจในการเลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบหลัก 5 หมู่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ จำนวน 4 ครั้ง
- กิจกรรมครั้งที่ 1 - กิจกรรม “มัดย้อม มัดใจ” - กิจกรรม ส่งเสริมด้านอาหาร “ การทำสลัดโรลเพื่อสุขภาพ ”
- กิจกรรมครั้งที่ 2 - กิจกรรม “ ประติมากรรมนูนต่ำ ”( 3 ชั่วโมง ) - กิจกรรม “ออกกำลังกายด้านการละเล่นกีฬาพื้นบ้าน” - วิ่งส่งเมือง - กินวิบาก - เหยียบลูกโป่ง - เก้าอี้ดนตรี
- กิจกรรมครั้งที่ 3 - กิจกรรม ” สร้างลวดลายบนกะลามะพร้าว ” ( 2 ชั่วโมง ) - กิจกรรม อาหารเพื่อสุขภาพ “ การทำแซน วิสแสนอร่อย ” ( 2 ชั่วโมง )
- กิจกรรมครั้งที่ 4 - การเล่นเกมส์เพื่อฝึกทักษะสมอง ( 1 ชั่วโมง ) - กิจกรรม “ เล่านิทาน ” ( 1 ชั่วโมง ) - กิจกรรม “ วาดภาพความประทับใจบนผ้าใบ ” ( 2 ชั่วโมง )
- นำเสนอผลงานและประเมินผลกิจกรรมโดยการ แบ่งกลุ่ม มอบหมายงาน นำเสนอผลงาน และการทำแบบประเมินความพึงพอใจของเด็กๆที่เข้าร่วมกิจกรรมจากกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กๆ มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพและนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน
2. เด็กรู้จักการออกกำลังกาย ตามพัฒนาการแห่งวัย และเห็นความสําคัญในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของตนเองได้อย่างถูกต้อง
3. เด็กมีสุนทรียภาพในกิจกรรมนันทนาการและงานศิลปะสู่การพัฒนา ด้านอารมณ์ สังคมและสติปัญญาอย่างรอบด้าน
4. เด็กๆได้ทำกิจกรรมร่วมกันกับเพื่อนๆและมีความสามัคคีในการทำกิจกรรม
5. เด็กๆได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดียิ่งขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมครั้งที่ 1 - กิจกรรม “มัดย้อม มัดใจ” - กิจกรรม ส่งเสริมด้านอาหาร “ การทำสลัดโรลเพื่อสุขภาพ ”
วันที่ 9 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมผู้ปกครองเด็กและผู้เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางในการดำเนินการโครงการ
- ประชุมแต่งตั้งคณะทำงาน โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ประกอบด้วย ผู้นำชุมชนและประชาชนในชุมชน
3.จัดทำและขออนุมัติโครงการและขอความร่วมมือในการดำเนินงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4.เตรียมข้อมูลเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ที่จะต้องใช้ในการดำเนินงาน
5.แต่งตั้งคณะกรรมการทำงานโครงการ
6.จัดกิจกรรมที่จะดำเนินการตามโครงการดังนี้ ( ตามกำหนดการ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.เด็กๆ มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพและนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน
2. เด็กรู้จักการออกกำลังกาย ตามพัฒนาการแห่งวัย และเห็นความสําคัญในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของตนเองได้อย่างถูกต้อง
3. เด็กมีสุนทรียภาพในกิจกรรมนันทนาการและงานศิลปะสู่การพัฒนา ด้านอารมณ์ สังคมและสติปัญญาอย่างรอบด้าน
4. เด็กๆได้ทำกิจกรรมร่วมกันกับเพื่อนๆและมีความสามัคคีในการทำกิจกรรม
5. เด็กๆได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดียิ่งขึ้น
20
0
2. กิจกรรมครั้งที่ 2 - กิจกรรม “ ประติมากรรมนูนต่ำ ”( 3 ชั่วโมง ) - กิจกรรม “ออกกำลังกายด้านการละเล่นกีฬาพื้นบ้าน” - วิ่งส่งเมือง - กินวิบาก - เหยียบลูกโป่ง - เก้าอี้ดนตรี
วันที่ 9 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมผู้ปกครองเด็กและผู้เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางในการดำเนินการโครงการ
- ประชุมแต่งตั้งคณะทำงาน โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ประกอบด้วย ผู้นำชุมชนและประชาชนในชุมชน
3.จัดทำและขออนุมัติโครงการและขอความร่วมมือในการดำเนินงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4.เตรียมข้อมูลเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ที่จะต้องใช้ในการดำเนินงาน
5.แต่งตั้งคณะกรรมการทำงานโครงการ
6.จัดกิจกรรมที่จะดำเนินการตามโครงการดังนี้ ( ตามกำหนดการ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เด็กๆ มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพและนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน
2. เด็กรู้จักการออกกำลังกาย ตามพัฒนาการแห่งวัย และเห็นความสําคัญในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของตนเองได้อย่างถูกต้อง
3. เด็กมีสุนทรียภาพในกิจกรรมนันทนาการและงานศิลปะสู่การพัฒนา ด้านอารมณ์ สังคมและสติปัญญาอย่างรอบด้าน
4. เด็กๆได้ทำกิจกรรมร่วมกันกับเพื่อนๆและมีความสามัคคีในการทำกิจกรรม
5. เด็กๆได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดียิ่งขึ้น
20
0
3. กิจกรรมครั้งที่ 3 - กิจกรรม ” สร้างลวดลายบนกะลามะพร้าว ” ( 2 ชั่วโมง ) - กิจกรรม อาหารเพื่อสุขภาพ “ การทำแซน วิสแสนอร่อย ” ( 2 ชั่วโมง )
วันที่ 9 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมผู้ปกครองเด็กและผู้เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางในการดำเนินการโครงการ
- ประชุมแต่งตั้งคณะทำงาน โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ประกอบด้วย ผู้นำชุมชนและประชาชนในชุมชน
3.จัดทำและขออนุมัติโครงการและขอความร่วมมือในการดำเนินงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4.เตรียมข้อมูลเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ที่จะต้องใช้ในการดำเนินงาน
5.แต่งตั้งคณะกรรมการทำงานโครงการ
6.จัดกิจกรรมที่จะดำเนินการตามโครงการดังนี้ ( ตามกำหนดการ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เด็กๆ มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพและนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน
2. เด็กรู้จักการออกกำลังกาย ตามพัฒนาการแห่งวัย และเห็นความสําคัญในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของตนเองได้อย่างถูกต้อง
3. เด็กมีสุนทรียภาพในกิจกรรมนันทนาการและงานศิลปะสู่การพัฒนา ด้านอารมณ์ สังคมและสติปัญญาอย่างรอบด้าน
4. เด็กๆได้ทำกิจกรรมร่วมกันกับเพื่อนๆและมีความสามัคคีในการทำกิจกรรม
5. เด็กๆได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดียิ่งขึ้น
20
0
4. กิจกรรมครั้งที่ 4 - การเล่นเกมส์เพื่อฝึกทักษะสมอง ( 1 ชั่วโมง ) - กิจกรรม “ เล่านิทาน ” ( 1 ชั่วโมง ) - กิจกรรม “ วาดภาพความประทับใจบนผ้าใบ ” ( 2 ชั่วโมง )
วันที่ 9 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมผู้ปกครองเด็กและผู้เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางในการดำเนินการโครงการ
- ประชุมแต่งตั้งคณะทำงาน โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ประกอบด้วย ผู้นำชุมชนและประชาชนในชุมชน
3.จัดทำและขออนุมัติโครงการและขอความร่วมมือในการดำเนินงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4.เตรียมข้อมูลเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ที่จะต้องใช้ในการดำเนินงาน
5.แต่งตั้งคณะกรรมการทำงานโครงการ
6.จัดกิจกรรมที่จะดำเนินการตามโครงการดังนี้ ( ตามกำหนดการ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เด็กๆ มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพและนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน
2. เด็กรู้จักการออกกำลังกาย ตามพัฒนาการแห่งวัย และเห็นความสําคัญในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของตนเองได้อย่างถูกต้อง
3. เด็กมีสุนทรียภาพในกิจกรรมนันทนาการและงานศิลปะสู่การพัฒนา ด้านอารมณ์ สังคมและสติปัญญาอย่างรอบด้าน
4. เด็กๆได้ทำกิจกรรมร่วมกันกับเพื่อนๆและมีความสามัคคีในการทำกิจกรรม
5. เด็กๆได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดียิ่งขึ้น
20
0
5. นำเสนอผลงานและประเมินผลกิจกรรมโดยการ แบ่งกลุ่ม มอบหมายงาน นำเสนอผลงาน และการทำแบบประเมินความพึงพอใจของเด็กๆที่เข้าร่วมกิจกรรมจากกิจกรรม
วันที่ 9 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมผู้ปกครองเด็กและผู้เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางในการดำเนินการโครงการ
- ประชุมแต่งตั้งคณะทำงาน โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ประกอบด้วย ผู้นำชุมชนและประชาชนในชุมชน
3.จัดทำและขออนุมัติโครงการและขอความร่วมมือในการดำเนินงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4.เตรียมข้อมูลเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ที่จะต้องใช้ในการดำเนินงาน
5.แต่งตั้งคณะกรรมการทำงานโครงการ
6.จัดกิจกรรมที่จะดำเนินการตามโครงการดังนี้ ( ตามกำหนดการ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เด็กๆ มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพและนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน
2. เด็กรู้จักการออกกำลังกาย ตามพัฒนาการแห่งวัย และเห็นความสําคัญในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของตนเองได้อย่างถูกต้อง
3. เด็กมีสุนทรียภาพในกิจกรรมนันทนาการและงานศิลปะสู่การพัฒนา ด้านอารมณ์ สังคมและสติปัญญาอย่างรอบด้าน
4. เด็กๆได้ทำกิจกรรมร่วมกันกับเพื่อนๆและมีความสามัคคีในการทำกิจกรรม
5. เด็กๆได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดียิ่งขึ้น
20
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลและรักษาสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : เด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตัวเองมากกว่าร้อยละ 50
2
เพื่อให้เด็กรู้จักการออกกำลังกายที่ถูกต้องตามวัย
ตัวชี้วัด : เด็กได้รู้จักการออกกำลังกายที่ถูกต้องตามวัยมากกว่าร้อยละ50
3
เพื่อให้เด็กใช้งานศิลปะในการจัดการอารมณ์ของตัวเอง และฝึกสมาธิ
ตัวชี้วัด : เด็กได้ใช้งานศิลปะในการจัดการอารมณ์และฝึกสมาธิได้มากกว่าร้อยละ50
4
เพื่อให้เด็กได้รู้ และเข้าใจในการเลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบหลัก 5 หมู่
ตัวชี้วัด : เด็กได้รู้และเข้าใจการทานอาหารเพื่อสุขภาพและมีประโยชน์ได้มากกว่าร้อยละ50
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลและรักษาสุขภาพของตนเอง (2) เพื่อให้เด็กรู้จักการออกกำลังกายที่ถูกต้องตามวัย (3) เพื่อให้เด็กใช้งานศิลปะในการจัดการอารมณ์ของตัวเอง และฝึกสมาธิ (4) เพื่อให้เด็กได้รู้ และเข้าใจในการเลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบหลัก 5 หมู่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ จำนวน 4 ครั้ง (2) กิจกรรมครั้งที่ 1 - กิจกรรม “มัดย้อม มัดใจ” - กิจกรรม ส่งเสริมด้านอาหาร “ การทำสลัดโรลเพื่อสุขภาพ ” (3) กิจกรรมครั้งที่ 2 - กิจกรรม “ ประติมากรรมนูนต่ำ ”( 3 ชั่วโมง ) - กิจกรรม “ออกกำลังกายด้านการละเล่นกีฬาพื้นบ้าน” - วิ่งส่งเมือง - กินวิบาก - เหยียบลูกโป่ง - เก้าอี้ดนตรี (4) กิจกรรมครั้งที่ 3 - กิจกรรม ” สร้างลวดลายบนกะลามะพร้าว ” ( 2 ชั่วโมง ) - กิจกรรม อาหารเพื่อสุขภาพ “ การทำแซน วิสแสนอร่อย ” ( 2 ชั่วโมง ) (5) กิจกรรมครั้งที่ 4 - การเล่นเกมส์เพื่อฝึกทักษะสมอง ( 1 ชั่วโมง ) - กิจกรรม “ เล่านิทาน ” ( 1 ชั่วโมง ) - กิจกรรม “ วาดภาพความประทับใจบนผ้าใบ ” ( 2 ชั่วโมง ) (6) นำเสนอผลงานและประเมินผลกิจกรรมโดยการ แบ่งกลุ่ม มอบหมายงาน นำเสนอผลงาน และการทำแบบประเมินความพึงพอใจของเด็กๆที่เข้าร่วมกิจกรรมจากกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย จิตและสมองในเด็ก ( ด้วยหลัก 3 อ.อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3306-02-006
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายปรัตถกร กรมเมือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย จิตและสมองในเด็ก ( ด้วยหลัก 3 อ.อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) ”
ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายปรัตถกร กรมเมือง
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3306-02-006 เลขที่ข้อตกลง 8/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย จิตและสมองในเด็ก ( ด้วยหลัก 3 อ.อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย จิตและสมองในเด็ก ( ด้วยหลัก 3 อ.อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย จิตและสมองในเด็ก ( ด้วยหลัก 3 อ.อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2567-L3306-02-006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,670.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสําคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กในชุมชน ซึ่งนับว่าเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสําคัญยิ่งที่จะต้องเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่สามารถใช้ชีวิตอย่างเท่าเทียมและ อยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สุขภาพกายและสุขภาพจิตเด็กควรจะได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ โดยมุ่งหวังให้เด็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ ทางด้านร่างกาย อารมณ์สังคม และสติปัญญา ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ นอกจากครอบครัวและโรงเรียนแล้ว ชุมชนนับว่ามีบทบาทสําคัญยิ่งในการให้ความร่วมมือและการพัฒนาคุณภาพด้านการศึกษาและสุขภาพ เพื่อพัฒนาศักยภาพให้เด็กเป็นผู้ที่มีสุขภาพชีวิตที่ดีมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตทีดี ซึ่งจะปลูกฝังให้เกิดการปฏิบัติตนที่ถูกต้องตามสุขนิสัยสุขปฏิบัติ และการจัดการทางอารมณ์โดยมีการพัฒนาที่เหมาะสมตามวัยเต็มตามศักยภาพ ตามเกณฑ์ และมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อผู้อื่น ซึ่งจะนำไปสู่ภาวะที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกายอารมณ์ – จิตใจ สังคม และสติปัญญา
กลุ่มรักษ์ศิลปะ บ้านศิลป์มาลาดิน ซึ่งเป็นองค์กรประชาชน เห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพกาย จิตในเด็ก ( ด้วยหลัก 3 อ.อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กในชุมชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ในช่วงวันหยุดเรียน มาเรียนรู้การดูแลสุขภาพของตนเองทั้งด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการอารมณ์โดยใช้ศิลปะ ในการจัดการ ให้เด็กๆมีพัฒนาการที่ดียิ่งขึ้นไปและสมกับวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลและรักษาสุขภาพของตนเอง
- เพื่อให้เด็กรู้จักการออกกำลังกายที่ถูกต้องตามวัย
- เพื่อให้เด็กใช้งานศิลปะในการจัดการอารมณ์ของตัวเอง และฝึกสมาธิ
- เพื่อให้เด็กได้รู้ และเข้าใจในการเลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบหลัก 5 หมู่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ จำนวน 4 ครั้ง
- กิจกรรมครั้งที่ 1 - กิจกรรม “มัดย้อม มัดใจ” - กิจกรรม ส่งเสริมด้านอาหาร “ การทำสลัดโรลเพื่อสุขภาพ ”
- กิจกรรมครั้งที่ 2 - กิจกรรม “ ประติมากรรมนูนต่ำ ”( 3 ชั่วโมง ) - กิจกรรม “ออกกำลังกายด้านการละเล่นกีฬาพื้นบ้าน” - วิ่งส่งเมือง - กินวิบาก - เหยียบลูกโป่ง - เก้าอี้ดนตรี
- กิจกรรมครั้งที่ 3 - กิจกรรม ” สร้างลวดลายบนกะลามะพร้าว ” ( 2 ชั่วโมง ) - กิจกรรม อาหารเพื่อสุขภาพ “ การทำแซน วิสแสนอร่อย ” ( 2 ชั่วโมง )
- กิจกรรมครั้งที่ 4 - การเล่นเกมส์เพื่อฝึกทักษะสมอง ( 1 ชั่วโมง ) - กิจกรรม “ เล่านิทาน ” ( 1 ชั่วโมง ) - กิจกรรม “ วาดภาพความประทับใจบนผ้าใบ ” ( 2 ชั่วโมง )
- นำเสนอผลงานและประเมินผลกิจกรรมโดยการ แบ่งกลุ่ม มอบหมายงาน นำเสนอผลงาน และการทำแบบประเมินความพึงพอใจของเด็กๆที่เข้าร่วมกิจกรรมจากกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กๆ มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพและนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน 2. เด็กรู้จักการออกกำลังกาย ตามพัฒนาการแห่งวัย และเห็นความสําคัญในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของตนเองได้อย่างถูกต้อง 3. เด็กมีสุนทรียภาพในกิจกรรมนันทนาการและงานศิลปะสู่การพัฒนา ด้านอารมณ์ สังคมและสติปัญญาอย่างรอบด้าน 4. เด็กๆได้ทำกิจกรรมร่วมกันกับเพื่อนๆและมีความสามัคคีในการทำกิจกรรม 5. เด็กๆได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดียิ่งขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมครั้งที่ 1 - กิจกรรม “มัดย้อม มัดใจ” - กิจกรรม ส่งเสริมด้านอาหาร “ การทำสลัดโรลเพื่อสุขภาพ ” |
||
วันที่ 9 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.เด็กๆ มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพและนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน 2. เด็กรู้จักการออกกำลังกาย ตามพัฒนาการแห่งวัย และเห็นความสําคัญในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของตนเองได้อย่างถูกต้อง 3. เด็กมีสุนทรียภาพในกิจกรรมนันทนาการและงานศิลปะสู่การพัฒนา ด้านอารมณ์ สังคมและสติปัญญาอย่างรอบด้าน 4. เด็กๆได้ทำกิจกรรมร่วมกันกับเพื่อนๆและมีความสามัคคีในการทำกิจกรรม 5. เด็กๆได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดียิ่งขึ้น
|
20 | 0 |
2. กิจกรรมครั้งที่ 2 - กิจกรรม “ ประติมากรรมนูนต่ำ ”( 3 ชั่วโมง ) - กิจกรรม “ออกกำลังกายด้านการละเล่นกีฬาพื้นบ้าน” - วิ่งส่งเมือง - กินวิบาก - เหยียบลูกโป่ง - เก้าอี้ดนตรี |
||
วันที่ 9 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
20 | 0 |
3. กิจกรรมครั้งที่ 3 - กิจกรรม ” สร้างลวดลายบนกะลามะพร้าว ” ( 2 ชั่วโมง ) - กิจกรรม อาหารเพื่อสุขภาพ “ การทำแซน วิสแสนอร่อย ” ( 2 ชั่วโมง ) |
||
วันที่ 9 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
20 | 0 |
4. กิจกรรมครั้งที่ 4 - การเล่นเกมส์เพื่อฝึกทักษะสมอง ( 1 ชั่วโมง ) - กิจกรรม “ เล่านิทาน ” ( 1 ชั่วโมง ) - กิจกรรม “ วาดภาพความประทับใจบนผ้าใบ ” ( 2 ชั่วโมง ) |
||
วันที่ 9 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
20 | 0 |
5. นำเสนอผลงานและประเมินผลกิจกรรมโดยการ แบ่งกลุ่ม มอบหมายงาน นำเสนอผลงาน และการทำแบบประเมินความพึงพอใจของเด็กๆที่เข้าร่วมกิจกรรมจากกิจกรรม |
||
วันที่ 9 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
20 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลและรักษาสุขภาพของตนเอง ตัวชี้วัด : เด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตัวเองมากกว่าร้อยละ 50 |
|
|||
2 | เพื่อให้เด็กรู้จักการออกกำลังกายที่ถูกต้องตามวัย ตัวชี้วัด : เด็กได้รู้จักการออกกำลังกายที่ถูกต้องตามวัยมากกว่าร้อยละ50 |
|
|||
3 | เพื่อให้เด็กใช้งานศิลปะในการจัดการอารมณ์ของตัวเอง และฝึกสมาธิ ตัวชี้วัด : เด็กได้ใช้งานศิลปะในการจัดการอารมณ์และฝึกสมาธิได้มากกว่าร้อยละ50 |
|
|||
4 | เพื่อให้เด็กได้รู้ และเข้าใจในการเลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบหลัก 5 หมู่ ตัวชี้วัด : เด็กได้รู้และเข้าใจการทานอาหารเพื่อสุขภาพและมีประโยชน์ได้มากกว่าร้อยละ50 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลและรักษาสุขภาพของตนเอง (2) เพื่อให้เด็กรู้จักการออกกำลังกายที่ถูกต้องตามวัย (3) เพื่อให้เด็กใช้งานศิลปะในการจัดการอารมณ์ของตัวเอง และฝึกสมาธิ (4) เพื่อให้เด็กได้รู้ และเข้าใจในการเลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบหลัก 5 หมู่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ จำนวน 4 ครั้ง (2) กิจกรรมครั้งที่ 1 - กิจกรรม “มัดย้อม มัดใจ” - กิจกรรม ส่งเสริมด้านอาหาร “ การทำสลัดโรลเพื่อสุขภาพ ” (3) กิจกรรมครั้งที่ 2 - กิจกรรม “ ประติมากรรมนูนต่ำ ”( 3 ชั่วโมง ) - กิจกรรม “ออกกำลังกายด้านการละเล่นกีฬาพื้นบ้าน” - วิ่งส่งเมือง - กินวิบาก - เหยียบลูกโป่ง - เก้าอี้ดนตรี (4) กิจกรรมครั้งที่ 3 - กิจกรรม ” สร้างลวดลายบนกะลามะพร้าว ” ( 2 ชั่วโมง ) - กิจกรรม อาหารเพื่อสุขภาพ “ การทำแซน วิสแสนอร่อย ” ( 2 ชั่วโมง ) (5) กิจกรรมครั้งที่ 4 - การเล่นเกมส์เพื่อฝึกทักษะสมอง ( 1 ชั่วโมง ) - กิจกรรม “ เล่านิทาน ” ( 1 ชั่วโมง ) - กิจกรรม “ วาดภาพความประทับใจบนผ้าใบ ” ( 2 ชั่วโมง ) (6) นำเสนอผลงานและประเมินผลกิจกรรมโดยการ แบ่งกลุ่ม มอบหมายงาน นำเสนอผลงาน และการทำแบบประเมินความพึงพอใจของเด็กๆที่เข้าร่วมกิจกรรมจากกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย จิตและสมองในเด็ก ( ด้วยหลัก 3 อ.อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3306-02-006
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายปรัตถกร กรมเมือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......