โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายกฤษณัฏฐ์ นนทแก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3346-5-01 เลขที่ข้อตกลง 025/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3346-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,225.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น โรคไข้เลือดออกมักจะระบาดในช่วงฤดูฝนและมาตรการควบคุมโรคที่ได้ผลในขณะนี้ยังคงเป็นมาตรการ การควบคุมยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค หลักในการควบคุมโรคเป็นการยากหากจะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียว ดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้นำชุมชนช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียน ชุมชน สถานที่ราชการต่างๆ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ่อทราย จึง จัดทำโครงการ "โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567" เพื่อสร้างความตระหนักให้กับประชาชนได้เห็นความสำคัญและสร้างมาตรการทางสังคมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะที่ทำให้เกิดโรคไข้เลือดออก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก
- เพื่อควบคุมการระบาดของโรค ไม่ให้เกิดการระบาดซ้ำ (Second generation case)
- เพื่อสนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน โรงเรียน และองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงล่วงหน้าโดยการพ่นหมอกควัน/ละอองฝอย ในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนเปิดเทอมๆ ละ 2 ครั้ง
- การดำเนินการควบคุมป้องกันการระบาดในหมู่บ้าน
- ประชุมชี้แจงและติดตาม การกำจัดทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย โดยการสำรวจไขว้ระหว่างเขตรับผิดชอบ ของ อสม. ภายในแต่ละหมู่บ้าน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
65
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนและองค์กรต่าง ๆ ในชุมชนมีส่วนร่วมในการกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
- ประชาชนเกิดความตระหนักและให้ความสำคัญในการรณรงค์กำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
- จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง
- ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ไม่สามารถเบิกจ่ายค่าตอบแทนในการพ่นน้ำยาเคมีได้ เนื่องจากระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเงินบำรุงของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขไม่ได้กำหนดหลักเกณฑ์ในการเบิกจ่ายไว้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงของค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
80.00
80.00
80.00
2
เพื่อควบคุมการระบาดของโรค ไม่ให้เกิดการระบาดซ้ำ (Second generation case)
ตัวชี้วัด : ไม่มีผู้ป่วยระบาดซ้ำ (Second generation case)
80.00
80.00
80.00
3
เพื่อสนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน โรงเรียน และองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : หมู่บ้าน/ชุมชน มีค่าร้อยละของครัวเรือนที่พบลูกน้ำยุงลาย (HI) ไม่เกินร้อยละ 10 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด ปลอดลูกน้ำยุงลาย(CI=0) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00
80.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
65
65
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
65
65
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อควบคุมการระบาดของโรค ไม่ให้เกิดการระบาดซ้ำ (Second generation case) (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน โรงเรียน และองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงล่วงหน้าโดยการพ่นหมอกควัน/ละอองฝอย ในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนเปิดเทอมๆ ละ 2 ครั้ง (2) การดำเนินการควบคุมป้องกันการระบาดในหมู่บ้าน (3) ประชุมชี้แจงและติดตาม การกำจัดทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย โดยการสำรวจไขว้ระหว่างเขตรับผิดชอบ ของ อสม. ภายในแต่ละหมู่บ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3346-5-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายกฤษณัฏฐ์ นนทแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายกฤษณัฏฐ์ นนทแก้ว
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3346-5-01 เลขที่ข้อตกลง 025/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3346-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,225.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น โรคไข้เลือดออกมักจะระบาดในช่วงฤดูฝนและมาตรการควบคุมโรคที่ได้ผลในขณะนี้ยังคงเป็นมาตรการ การควบคุมยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค หลักในการควบคุมโรคเป็นการยากหากจะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียว ดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้นำชุมชนช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียน ชุมชน สถานที่ราชการต่างๆ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ่อทราย จึง จัดทำโครงการ "โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567" เพื่อสร้างความตระหนักให้กับประชาชนได้เห็นความสำคัญและสร้างมาตรการทางสังคมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะที่ทำให้เกิดโรคไข้เลือดออก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก
- เพื่อควบคุมการระบาดของโรค ไม่ให้เกิดการระบาดซ้ำ (Second generation case)
- เพื่อสนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน โรงเรียน และองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงล่วงหน้าโดยการพ่นหมอกควัน/ละอองฝอย ในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนเปิดเทอมๆ ละ 2 ครั้ง
- การดำเนินการควบคุมป้องกันการระบาดในหมู่บ้าน
- ประชุมชี้แจงและติดตาม การกำจัดทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย โดยการสำรวจไขว้ระหว่างเขตรับผิดชอบ ของ อสม. ภายในแต่ละหมู่บ้าน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 65 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนและองค์กรต่าง ๆ ในชุมชนมีส่วนร่วมในการกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
- ประชาชนเกิดความตระหนักและให้ความสำคัญในการรณรงค์กำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
- จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง
- ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ไม่สามารถเบิกจ่ายค่าตอบแทนในการพ่นน้ำยาเคมีได้ เนื่องจากระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเงินบำรุงของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขไม่ได้กำหนดหลักเกณฑ์ในการเบิกจ่ายไว้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงของค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี |
80.00 | 80.00 | 80.00 |
|
2 | เพื่อควบคุมการระบาดของโรค ไม่ให้เกิดการระบาดซ้ำ (Second generation case) ตัวชี้วัด : ไม่มีผู้ป่วยระบาดซ้ำ (Second generation case) |
80.00 | 80.00 | 80.00 |
|
3 | เพื่อสนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน โรงเรียน และองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : หมู่บ้าน/ชุมชน มีค่าร้อยละของครัวเรือนที่พบลูกน้ำยุงลาย (HI) ไม่เกินร้อยละ 10 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด ปลอดลูกน้ำยุงลาย(CI=0) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
80.00 | 80.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 65 | 65 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 65 | 65 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อควบคุมการระบาดของโรค ไม่ให้เกิดการระบาดซ้ำ (Second generation case) (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน โรงเรียน และองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงล่วงหน้าโดยการพ่นหมอกควัน/ละอองฝอย ในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนเปิดเทอมๆ ละ 2 ครั้ง (2) การดำเนินการควบคุมป้องกันการระบาดในหมู่บ้าน (3) ประชุมชี้แจงและติดตาม การกำจัดทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย โดยการสำรวจไขว้ระหว่างเขตรับผิดชอบ ของ อสม. ภายในแต่ละหมู่บ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3346-5-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายกฤษณัฏฐ์ นนทแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......