กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโส


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกลาง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ”

ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางมยุรา ชูทอง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกลาง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

ที่อยู่ ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5170-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกลาง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกลาง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกลาง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5170-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

1.แผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) ของกรมอนามัย มุ้นเน้นให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีคุณภาพที่ดี ภายใต้การจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี โดยมีความรอบรู้ทางสุขภาพ สามารถจัดการตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้ รวมทั้งการจัดการให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพและสุขอนามัยที่พึ่งประสงค์ ทั้งในระดับส่วนบุคคลของประชาชนและการจัดการของสถานประกอบการ กิจการและกิจกรรม โดยแผนปฏิบัติราชการฯ ประกอบด้วย 4 เรื่อง ดังนี้ 1.การอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัย เพื่อให้มีระบบการปกป้องคุ้มครองสิทธฺ ทางสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ และกรมอนามัยเป็นศูนย์กลางข้อมูลและสารสนเทศด้านการส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม รวมทั้งให้ประชาสังคมและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นหุ้นส่วนในการขับเคลื่อนและรับผิดชอบ ต่อผลลัพธ์างสุขภาพร่วมกัน แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) ของกรมอนามัย
2.ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่นและอนามัยสิ่งแวดล้อมสู่เมืองสุขภาพดี เพื่อให้ประชาชทุกช่วงวัย มีสุขภาวะที่ดีเป็นกำลังคนที่มีสมรรถนะสูง อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี รวมทั้งให้ความสำคัญ กับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมในกลุ่มพื้นที่เฉพาะ เช่น พื้นที่เขตเมือง พื้นที่พิเศษ กลุ่มเปราะบาง/ชายขอบ/แรงงานข้ามชาติมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี เป็นต้น

3.สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนุกกลุ่มวัยมีความรอบรู้และทักษะ ในการพัฒนาสุขภาพตนเองตลอดช่วงชีวิตและสังคม ชุมชน องค์กร มีขีดความสามารถในการจัดการระบบ ให้ประชาชนเกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยการยกระดับการสื่อสารความรู้ด้านสุขภาพที่ถูกต้องไปสู่ประชาชน ภายใต้การพัฒนาระบบตอบโต้ความเสี่ยงเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล สำหรับ เป็นเครื่องมือสร้างความเข้าใจและความตระหนักทั้งภาวะปกติ และภาวะวิกฤติ 4.ยกระดับองค์การสู่ความเป็นเลิศและมีธรรมาภิบาล เพื่อให้กรมอนามัยเป็นองค์กรที่มี ความเป็นเลิศในการให้บริการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและอนามัยสิ่งแวดล้อมขั้นสูงของประเศ เป็นองค์กรคุณภาพ ด้วยการพัฒนาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้มีสมรรถนะสูงเทียบเท่ามาตรฐานสากลและ มีความคล่องตัว มีระบบบริหารจัดการที่ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน ตลอดจนเป็นองค์กรที่มีธรรมาภิบาล ภายใต้บุคลากรด้านส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีความเป็นมืออาชีพในทุกระดับ และมีสมดุลชีวิต 2.ความสอดคล้องกับแผน 3 ระดับ ตามนัยยะของมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2560 2.1 ยุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดับที่ 1) 2.2.1 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 1.ประเด็น 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต 1.เป้าหมายระดับประเด็นของแผนแม่บทฯ -เป้าหมายที่ 1 : คนไทยทุกช่วงวัยมีคุณภาพเพิ่มขึ้น ได้รับการพัฒนาอย่างสมดุล ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญาและคุณธรรมจริยธรรม เป็นผู้ที่มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 รักการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต -การบรรลุเป้าหมายตามแผนแม่บทฯ การส่งเสริมสุขภาพ 4 กลุ่มวัย และสนับสนุนการสร้างสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อส่งเสริมสุขภาพแต่ละกลุ่มวัย เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพที่ดีเริ่มตั้งแต่สตรีและเด็กปฐมวัย ส่งเสริมการเกิดอย่างมีคุณภาพ และเด็กพัฒนาการสมวัย ส่งเสริม ระบบสาธารณสุขที่เชื่อมต่อกับดรงเรียนหรือสถานศึกษา รวมทั้งส่งเสริมพัฒนาทักษะและสมรรถนะวัยทำงาน 2.แผนย่อยของแม่บทฯ การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย -แนวการพัฒนา 1.จัดให้มีการเตรียมความพร้อมทั้งสุขภาวะ เจตคติ ความรู้ และทักษะให้แก่พ่อแม่ก่อนการตั้งครรภ์ พร้อมทั้งส่งเสริมอนามัยแม่และเด็กตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ รวมทั้งกำหนด มาตรการสร้างความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานให้พ่อแม่สามารถเลี้ยงดูบุตรได้ด้วยตนเอง ทั้งการจูงใจ ให้สถานประกอบการจัดให้มีการจ้างงานที่ยืดหยุ่น รณรงค์ให้ผู้ชายตระหนักและมีส่วนร่วมในการทำหน้าที่ในบ้านและดูแลบุตรมากขึ้น 2.จัดให้มีการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีสุขภาวะที่ดีและสมวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงพยาบาลทุกระดับและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินงานตามมาตรฐานงาน อนามัยแม่และเด็กสู่มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ตลอดจนส่งเสริมและสนับสนุน การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และสารอาหารที่จำเป็นต่อสมองเด็ก 3.จัดให้มีการพัฒนาเด้กปฐมวัยให้มีพัฒนาการ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่ดีที่สมวัยทุกด้าน โดยการพัฒนาหลักสูตรการสอนและปรับปรุงสถานพัฒนาเดกปฐมวัยให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่เน้นการพัฒนาทักษะสำคัญด้านต่างๆ อาทิ ทักษะทางสมอง ทักษะด้านความคิดความจำ ทักษะการควบคุมอารมณ์ ทักษะการวางแผนและการจัดระบบ ทักษะการรู้จักประเมินตนเอง ควบคู่กับการยกระดับบุคลากรในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีความพร้อม ทั้งทักษะ ความรู้ จริยธรรม และความเป็นมืออาชีพ ตลอดจน ผลักดันให้มีกฎหมายการพัฒนา เด็กปฐมวัยให้ครอบคลุมทั้งการพัฒนาทักษะ การเรียนรู้เน้นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการศึกษา การพัฒนาสุขภาพอนามัยให้มีพัฒนาการที่สมวัยและการเตรียมทักษะการอยู่ในสังคมให้มีพัฒนาการ อย่างรอบด้าน -เป้าหมายของแผนย่อย เด็กเกิดอย่างมีคุณภาพ มีพัฒนาการสมวัย สามารถเข้าถึงบริการที่มีคูรภาพมากขึ้น
-การบรรลุเป้าหมายตามแผนย่อยของแม่บทฯ ขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพมารดาและเด็กปฐมวัย ให้เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ พัฒนามาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก เสริมสุขภาพแม่และเด็กด้วยภูมิปัญญาไทย ในระดับพื้นที่ จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ชุมชนในการดูแลสุขภาพตนเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด และการเลี้ยงดูเด็ก ตามวิถีชีวิตไทย ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ส่งเสริมโภชนาการหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และอาหารตามวัย เฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย รวมทั้งสร้างมาตรการ กลไก ระดับประเทศที่ขับเคลื่อน แบบบูรณาการเพื่อส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กและคุ้มครองให้เป็นไปตามกฏหมาย เพื่อให้เด็กเกิดอย่างมีคุณภาพและมีพัฒนาการสมวัย โดยมีเป้าหมายสำคัญให้เด็กปฐมวัย 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัยและ ศุงดีสมส่วนสอดคล้องกับเป้าหมายของแผนแม่บทย่อยฯ และสามารถตอบผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัดแผนแม่บท ย่อยฯ

  1. แผนระดับที่ 3 ที่เกี่ยวข้อง (หากมี) -ชื่อแผนระดับที่ 3 แผนทันตสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไย พ.ศ.2558-2565 ของกรมอนามัย -ชื่อแผนระดับที่ 3 แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับี่ 3 พ.ศ.2560-2564 ของกรมอนามัย -ชื่อแผนระดับที่ 3 ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับชาติ พ.ศ.2560-2569 ตาม พรบ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 ของกรมอนามัย -ชื่อแผนระดับที่ 3 นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธ์ แห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2560-2569 ว่าด้วยการส่งเสริมการเกิดและการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ ของกรมอนามัย

4.ความสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั้งยืน SDGs แห่งสหประชาชาติ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั้งยืน Sustainadle Development Goals -SDGs SDGs Targets2.2 เป้าหมายหลัก/เป้าหมายย่อย ตัวชี้วัด ยุติภาวะทุพโภชนาการทุกรูปแบบ และแก้ไขปัญหาความต้องการสารอาหารของหญิงวัยรุ่น หญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร และผู้สูงอายุ พ.ศ.2573 รวมถถึงบรรลุเป้าหมายที่ ตกลงร่วมกันระหว่างประเทศว่าด้วยภาวะเตี้ย stunting และแคระแกร็น wasting ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ภายในปี พ.ศ.2568 SDGs Targets 2.2.1 เป้าหมายหลัก/เป้าหมายย่อย/ตัวชี้วัด ความซุกของภาวะเตี้ยในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี (ประเมินส่วนสูง ตามเกณฑ์อายุ ที่มีส่วนสูงห่างจากมัธยฐานตามมาตรฐาน การเจริญเติบโตของเด็กของงอค์กรอนามัยโลก WHO ในช่วงน้อยกว่า -2 SD
SDGs Targets 2.2.2 เป้าหมายหลัก/เป้าหมายย่อย/ตัวชี้วัด ความชุกของภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี จำแนกตาม ก.ภาวะแคระแกร็น ข.ภาวะน้ำหนักเกิน (ประเมินน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง ที่มีน้ำหนัก เมื่อเทียบกับความสูงห่างจากค่ามัธยฐานตามมาตรฐานการเจริญเติบโตของเด็ก WHO ในช่วงมากกว่า +2 SD หรือต่ำกว่า -2 SD SDGs Targets 2.2.3 เป้าหมายหลัก/เป้าหมายย่อย/ตัวชี้วัด ความชุกของภาวะโลหิตจาง (aneamia) ในหญิง อายุระหว่าง 15-49 ปี   ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน จำเป็นจะต้องเริ่มตั้งแต่การดูแลสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธ์เพื่อให้มีการตั้งครรภ์และการคลอด/หลังคลอดมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัยมีสุขภาพแข็งแรงไม่เกิดโรคภาวะแทรกซ้อน ภาวะทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า2,500 กรัม เป็นปัญหาที่สำคัญของงานอนามัยแม่และเด็กในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุข ตามแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี พ.ศ.2566-2570 ของกรมอนามัย โดยมุ่งเน้นให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีคุณภาพชีวิตที่ดี ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (1) ประเด็น11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต 2.แผนย่อยของแผนแม่บท ฯ: การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย -เป้าหมายของแผนย่อย เด็กเกิดอย่างมีคุณภาพ มีพัฒนาการสมวัย สามารถเข้าถึงบริการที่มี คุณภาพมากขึ้น
-การบรรลุเป้าหมายตามแผนย่อยของแผนแม่บทฯ ขับเคลื่อนการดำเินงานส่งเสริมสุขภาพมารดาและเด็กปฐมวัย ให้เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ พัฒนามาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก เสริมสุขภาพแม่และเด็กด้วยภูมิปัญญาไทย ในระดับพื้นที่ จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ชุมชนในการดูแลสุขภาพตนเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด และการเลี้ยงดูเด็ก ตามวิถีชีวิตไทย ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ส่งเสริมโภชนาการหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และอาหารตามวัย เฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย รวมทั้งสร้างมาตรการ กลไกระดับประเทศที่ขับเคลื่อน แบบบูรณาการเพื่อการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กและคุ้มครองให้เป็นไปตามกฏหมาย เพื่อให้เด็กเกิด อย่างมีคุณภาพ และมีพัฒนาการสมวัย โโยมีเป้าหมายสำคัญให้เด็กปฐมวัย 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย และสูงดีสมส่วน สอดคล้องกับเป้าหมายของแผนแม่บทย่อยฯ และสามารถตอบผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัดแผนแม่บทย่อยฯ และปัจจุบันพบว่าสถานการณ์ปัจจุบันพบว่ามารดาไม่สามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่วัยรุ่นจะมีภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์สูงกว่าผู้ที่มีอายุเกินกว่า 20 ปี เช่น ภาวะโลหิตจางความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ภาวะคลอดก่อนกำหนดสูง เจ็บครรภ์คลอดนานการคลอดโดยใช้อุปกรณ์ช่วยคลอด เสี่ยงต่อการผ่าตัดคลอด ภาวะทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม และทารกตายในครรภ์ อัตราตายของมารดาอายุ 15-19 ปี สูงกว่ามารดาที่มีอายุ 20-24 ปี ถึง 3เท่า และวัยรุ่นยังไม่มคว่มพร้อมด้านจิตใจ สำหรับการเป็นแม่ จึงเป็นสาเหตุที่ใากบุตรไว้กับญาติหรือผู้ดูแลเด็ก โดยการให้กินนมผสม ซึ่งส่งผลให้เกิดปัญหาทางด้านเศรษฐกิจตามมา นอกจากนี้การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นยังก่อให้เกิดปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอีกด้วย คือการต้องหยุดหรือออกจากการศึกษา ไม่มีงานทำ ค่ารักษษพยาบาลขณะตั้งครรภ์ การคลอดบุตร และการเลี้ยงบุตร ปัญหาเหล่านี้ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของทั้งแม่วัยรุ่นและบุตรที่เกิดมา ผลกระทบทั้งด้านสุขภาพ ทั้งกาย จิต การศึกษา เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมทั้งต่อตัววัยรุ่นเอง ครอบครัวและสังคมไทย ในภาพรวม ซึ่งก็ยังเป็นปัญหาที่เชื่อมโยงและส่งผลต่อสุขภาพแม่และเด็ก     โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวในข้างต้น จึงได้จัดทำ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกลาง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายี่เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ ไม่เกิดภาวะแรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ หลังคลอด และเด็กทารก - ต่ำกว่า 6 เดือน ได้รับนมแม่ 100%

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง
  2. 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอดและครอบครัว มีความตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลตนเองและทารกแรกเกิด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกลาง ประจำปีงบประมาณ 2567
  2. 1.กิจกรรมจัดเตรียมเอกสารความรู้ 7
  3. 2.กิจกรรมโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกลาง ประจำปีงบประมาณ 256

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ 2.ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ หลังคลอด 3.เด็กทารก-ต่ำกว่า 6เดือน ได้รับนมแม่ 100%


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด : หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

2 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอดและครอบครัว มีความตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลตนเองและทารกแรกเกิด
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอดและครอบครัว มีความตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลตนเองและทารกแรกเกิด

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง (2) 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอดและครอบครัว มีความตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลตนเองและทารกแรกเกิด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกลาง ประจำปีงบประมาณ 2567 (2) 1.กิจกรรมจัดเตรียมเอกสารความรู้ 7 (3) 2.กิจกรรมโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกลาง ประจำปีงบประมาณ 256

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกลาง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5170-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมยุรา ชูทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด