กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังคุณภาพความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกลาง ปีงบประมาณ พ.ศ.2567
รหัสโครงการ 67-L5170-1-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง
วันที่อนุมัติ 3 พฤษภาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 19,050.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางมยุรา ชูทอง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.229,100.402place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม กำกับ ดูแลและบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง ร้านขายของชำในหมู่บ้าน เป็นต้น ซึ่งในส่วนของผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพเหล่านี้มีผู้เกี่ยวข้องหลายส่วน เช่น ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย ตลอดจนผู้บริโภค โดยฌฉพาะผู้บริโภคที่จะเป็นผู้ได้รับผลกระทบโดยตรงจากการใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านั้น หากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ ลอกเลียนแบบ เจือปนสารอันตรายลงไป หรือหากบริการสุขภาพนั้นไม่ได้มาตรฐานจะทำให้ผู้บริโภคได้รับผลกระทบต่อสุขภาพจนอาจมำให้เสียชีวิตได้         จากนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุข เกี่ยวกับคุ้งครองผู้บริโภค มุ่งหมายให้ประชาชนได้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพและปลอดภัย ในปัจจุบันประเทศไทย ยังคงพบปัญหาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพกระจายอยู่ในพื้นี่ต่างๆ การเปลี่ยนแปลงทาง สังคมและเศรษฐกิจโดยทั่วไปของประเทศ จึงเป็นส่วนที่สำคัญอย่างมากที่จะให้ผู้บริโภคได้เลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและผู้จำหน่ายจะได้จำหน่ายอาหารที่มีคุณภาพด้วย ซึ่งประชาชนต้องการความสะดวกรวดเร็ว และมีการประกอบอาหารด้วยตนเองน้อยลงผู้บริโภคส่วนใหญ่หันไปพึ่งร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ถึงแม้จะมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ให้ได้มาตราฐานด้านสุขาภิบาล และมีโครงการอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste) ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค     โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกลาง มีร้านอาหารแผงลอย ร้านขายของชำ ในหมู่บ้านจำนวนมาก เป็นร้านที่ผู้บริโภคจับจ่ายใช้สอยและซื้อสินค้า เนื่องจากมีความสะดวกในการซื้อสินค้า และเป็นร้านี่จำหน่ายสินค้าหลากหลายชนิด เช่น ยา เครื่องสำอาง เครื่องปรุงรส อาหารแปรรูป บุหรี่และแอลกอฮอล์ จากการสำรวจพบว่า เครื่องอุปโภค บริโภคไม่ได้มาตรฐานจากร้านขายของชำ ซึ่งผู็ประกอบการส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ที่ชัดเจนเกี่ยวกับเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอางที่มีคุณภาพ ความรู้เรื่องประเภทของยาแต่ละชนิดที่สามารถจำหน่ายได้ในร้านขายของชำ และจำหน่ายให้กับร้านค้าในชุมชนได้ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคทั้งสิ้น รพ.สต.บ้านกลาง ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวในข้างต้น จึงจัดประชุมชี้แจ้งทำความเข้าใจ เพื่อการเฝ้าระวังความปลอดภัยจาดอาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพให้ได้มาตรฐาน โดยมุ่งหวังที่จะให้ผู้ประกอบการ และแกนนำ ได้มีความตระหนักถึงความสำคัญของการดำเนินการคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อให้ผู้บริโภคได้ใช้ผลิตภัณฑ์ และอาหารี่ถูกสุขลักษณะ สะอาด ปลอดภัย และเพื่อกระตุ้นให้ผู้ประกอบการตื่นตัวมากขึ้น และเกิดแรงจูงใจในการปรับปรุงสถานี่ วิธีการประกอบอาหาารี่ถูกต้อง ในร้านอาหาร แผงลอย และตลาด

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและร้านจำหน่ายอาหาร

ร้อยละ 90 ของร้านอาหาร แผงลอย ผ่านเกณฑ์ทางแบคทีเรีย ร้อยละ 90 ตรวจด้วยน้ำยา SI-2

2 2.เพื่อให้ อสม.แกนนำคุ้มครองผู้บริโภค และผู้ประกอบการร้านขายของชำในหมู่บ้าน มีความรู้เกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และบริการสุขภาพ ที่ปลอดภัย หลังเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณต.ค. 66พ.ย. 66ธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67มี.ค. 67เม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67
1 โครงการเฝ้าระวังคุณภาพความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกลาง ปีงบประมาณ 2567(1 ม.ค. 2567-30 ก.ย. 2567) 19,050.00                        
รวม 19,050.00
1 โครงการเฝ้าระวังคุณภาพความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกลาง ปีงบประมาณ 2567 กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 255 19,050.00 0 0.00
1 ม.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 1.กิจกรรมจัดเตรียมเอกสารความรู้ 100 0.00 -
1 ม.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 2.กิจกรรมจัดอบรม และตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร 100 13,200.00 -
1 ม.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 3.กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ 55 5,850.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้านอาหาร แผงลอย ผ่านเกณฑ์ตรวจสอบแบคทีเรียในอาหาร ร้อยละ 90 2.กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร เพิ่มขึ้น 3.กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพ ที่ปลอดภัย หลังเข้าร่วมโครงการ เพิ่มขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 พ.ค. 2567 14:24 น.