กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพ ในเด็กอายุ 0-5 ปี ”

ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาววรรณี มือลี

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพ ในเด็กอายุ 0-5 ปี

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2490-1-13 เลขที่ข้อตกลง 38/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพ ในเด็กอายุ 0-5 ปี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพ ในเด็กอายุ 0-5 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพ ในเด็กอายุ 0-5 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2490-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นเสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก เด็กทุกคนในประเทศไทยควรได้รับวัคซีนพื้นฐานครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งการฉีดวัคซีนคือเครื่องมือสำคัญในการป้องกันโรค การฉีดวัคซีนช่วยป้องกันตัวเด็กเองและคนรอบข้างจากการเจ็บป่วยรุนแรงและการเสียชีวิต โดยในแต่ละปี วัคซีนสามารถลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคต่างๆ ได้ถึงประมาณ ๓ล้านคน นอกจากนี้การฉีดวัคซีนยังช่วยเพิ่มการคุ้มกันหมู่หรือ Herd immunity ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อมีคนจำนวนมากพอที่ได้รับวัคซีน ทำให้ป้องกันการติดเชื้อไปยังผู้ที่ไม่สามารถฉีดวัคซีนได้ กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่ร่างกายซึ่งสามารถป้องกันโรคได้ หลายชนิด ได้แก่ วัณโรค ไวรัลตับอักเสบบี คอตีบบาดทะยัก ไอกรน โปลิโอ โรคติดเชื้อฮีโมฟิลลุส อินฟลูเอนเซ่ ทัยป์บี หัด หัดเยอรมัน คางทูม ไข้สมองอักเสบ และโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน เป็นต้น ซึ่งวัคซีนป้องกันโรคแต่ละชนิดนี้ ควรได้รับตามช่วงอายุที่กำหนดและรับครบชุดตามเกณฑ์ ซึ่งหากเด็กกลุ่มวัยดังกล่าวมีอัตราป่วยและตายด้วยวัยที่ไม่สมควรเนื่องจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนแล้ว จะทำให้เกิดการสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ ฉะนั้นการเร่งรัดติดตามเด็ก 0-5 ปี ให้ได้รับวัคซีนครอบคลุมตามเกณฑ์ขั้นพื้นฐาน จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการ ซึ่งการบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะต้องจัดให้แก่ประชาชนด้วยความสะดวก ปลอดภัย และได้รับอย่างต่อเนื่องตามเกณฑ์ จากผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกศิลา ตำบลกะลุวอ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ในปี2566 อ้ัตราความครอบคลุมวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็ก 0-5 ปีในเขตรับผิดขอบพบว่า เด็กอายุ 0-5 ปี มีจำนวน 222 คนได้รับวัคซีนไม่ครบชุดตามเกณฑ์ จำนวน 156 คนคิดเป็นร้อยละ 70.27 ได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 29.72 จากเกณฑ์มาตราฐานของกระทรวงสาธารณสุขอัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์จะต้องได้รับร้อยละ 95ซึ่งจากผลการดำเนินงานดังกล่าวจะเห็นได้ว่าความครอบคลุมการได้รับวัคซีนของเด็กในพื้นที่น้อยกว่าเกณฑ์มาตราฐานที่จะสามารถป้องกันการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนได้ซึ่งจากการศึกษาพบว่าประชาชาชนในพื้นที่ยังขาดความรู้ ความตระหนัก เกี่ยวกับวัคซีนป้องกันโรค ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกศิลาได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพ ในเด็กอายุ 0-5 ปี เพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0 - 5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
  2. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0 - 5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับดูแลเด็กหลังการได้รับวัคซีนได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5ปี
  2. กิจกรรมส่งเสริมการได้รับวัคซีนตามนัด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครองเด็ก 0 - 5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน 2.จำนวนเด็กที่ขาดการรับวัคซีนตามเกณฑ์ ได้รับการฉีดวัคซีน ร้อยละ 90 3.จำนวนเด็กที่ขาดการรับวัคซีนตามเกณฑ์ ได้รับการฉีดวัคซีนเพิ่มขึ้นจากเดิม ร้อยละ 5

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0 - 5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็ก 0 - 5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการเกี่ยวกับโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนได้อย่างถูกต้อง
50.00 100.00

 

2 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ
ตัวชี้วัด : เด็กได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ร้อยละ 90 หรือเพิ่มขึ้นจากเดิม ร้อยละ 5
70.27 90.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0 - 5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับดูแลเด็กหลังการได้รับวัคซีนได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็ก 0 - 5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดูแลเด็กหลังการได้รับวัคซีนได้อย่างถูกต้อง
50.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0 - 5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน (2) เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ (3) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0 - 5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับดูแลเด็กหลังการได้รับวัคซีนได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5ปี (2) กิจกรรมส่งเสริมการได้รับวัคซีนตามนัด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพ ในเด็กอายุ 0-5 ปี จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2490-1-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววรรณี มือลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด