กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็ก 6 ปี - 12 ปี 11 เดือน 29 วัน ในเขตเทศบาลตำบลห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2567
รหัสโครงการ L8017-01-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลห้วยยอด
วันที่อนุมัติ 7 พฤศจิกายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 7 พฤศจิกายน 2566 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2567
งบประมาณ 50,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวชาลินี สุขสนาน
พี่เลี้ยงโครงการ นางสุภารัตน์ ภักดี
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.776,99.632place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

แผนพัฒนาทันตสาธารณสุขแห่งชาติฉบับที่ 4 (พ.ศ.2520 - 2525) จนถึงปัจจุบัน จัดให้นักเรียนระดับประถมศึกษาเป็นเป้าหมายหลักในการดำเนินงานทันตสาธารสุข ปัญหาสุขภาพช่องปากเป้นปัญหาที่สำคัญ และก่อให้เกิดผลเสียสุขภาพร่างกายและจิตใจ รวมทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งเป็นปัญหาที่สามารถป้องกัน และลดความรุนแรงของโรคได้ เด็กอายุ 6 - 12 ปี มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปากสูง เนื่องจากเป็นกลุ่มวัยที่เริ่มสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมต่างๆ ที่เข้ามามีอิทธิพล ดังนั้นจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการตรวจและบริการทันตกรรมแก่เด็กช่วงวัยนี้โดยทันตบุคลากรและปลูกฝังพฤติกรรมทันตสุขภาพที่ถูกต้อง เพื่อจะได้เติบดตเป็นผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพช่องปากที่สมบูรณ์ต่อไป จากผลสำรวจสภาวะทันตสุขภาพนักเรียนระดับประเทศครั้งที่7 ของสำนักทัตสาธารณสุข กรมอนามัยพบว่าเด็กประถมศึกษามีอัตราเกิดดรถฟันผุ ร้อยละ 52.3 ค่าเฉลี่ยฟันผุถอรอุดเพียง 1.92 ซี่/คน มีกลวิธีการดำเนินงานส่งเสริมใทันตสุขภาพ และการแก้ปัญหาฟันผุในเด็กวัยเรียน ในหลากหลายกิจกรรม   ตามที่สำนักทันตสาธารณสุข กระทราวงสาธารณสุขมีนโยบาย จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคด้านทันตกรรมสำหรับเด็ก "ยิ้มสดใส เด็กไทยฟันดี"  ตั้งแต่ ปี 2548 เพื่อให้เด็กประศึกษาได้รับการดูแลทันตสุขภาพอย่างเหมาะสม โดยมุ่งเน้นบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพที่มีคุณภาพ และครอบคลุม ร่วมกับการพัฒนาศักยภาพของเด็กในการดูแลรักษาอนามัยในช่องปากของตนเอง และมีการดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง ใน ปี 2558 โดยการดำเนินงานนี้ เด็กชั้นประถมศึกษาที่ 1 , 3 และ 6 ได้รับบริการตรวจฟันแบบครอบคลุมทุกซี่ในช่องปาก ส่วนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันซี่ที่หนึ่ง ส่วนนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันในฟันกรามแท้ซี่ที่แท้ ซึ่งเสี่ยงต่อการผุบนด้านบดเคี้ยว เช่นเดียวกับรุ่นที่ได้รับบริการในปีที่ผ่านมาโดยคาดว่าจะสามารถลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในฟันกรามแท้ลดลง ระบบการดำเนินโครงการนี้ จึงมุ่งที่จะจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อจดการระบบบริการส่งเสริมใป้องกันทันตสุขภาพ และการบริหารจัดการที่เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทที่แตกต่างกันของพื้นที่ และสามารถตอบสนองความจำเป้นของเด็กนักเรียนประะถมศึกษาในสถานศึกษาระดับประถมศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพในการป้องกันการเกิดโรถฟันผุจึงควรครอบคลุมถึงการให้คำแนะนำเรื่องการรับประทานอาหารให้ถูกต้องการแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันที่ถูกวิธีฟลูออไรด์เป็นสารทืที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามีผลในการควบคุมโรคฟันผุได้ โดยมีกลไลป้องกันฟันผุคือชะลอกระบวนการสลายของแร่ธาตุจากผิวฟันและส่งเสริมการเกิดกระบวนการคืนกลับของแร่ธาตุสู่ผิวฟัน ช่วยให้เคลือบฟันแข็งแรงและรบกวนเมตาลิซึมของแบคทีเรีย ปัจจบันมีการแนะนำให้ใช้ฟลูออไรด์วานิชในการป้องกันโรคฟันผุ   จากผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพของจังหวัดตรัง พบปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กประถมศึกษาพบอัตราการเกิดโรคฟันผุในปี 2565  ร้อยละ 28.30 และผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพของอำเภอห้วยยอด พบว่าเด็กประถมมีอัตราการเกิดโรคฟันผุในปี 2565 ร้อยละ 32.80 อำเภอห้วยยอดมีระดับฟันผุที่สุงกว่าระดับจังหวัด การมีฟันแท้ผุจะส่งผลต่อการสูญเสียฟัน ในอนาคต กลุ่มงานทันตกรมม โรงพยาบาลห้วยยอด ได้ตระหนักถึงความจำเป้นในการส่งเสริมป้องกันโรคฟันผุ และลดความเสี่ยงของฟันกรามที่จะทำให้เกิดฟันผุ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคดด้าน ทันตกรรมสำหรับเด็ก "ยิ้มสดใส เด็กไทยฟันดี" เขตเทศบาลตำบลห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2567 ขึ้น เพื่อจัดบริการตรวจสุขภาพช่องปาก ให้ทันตสุขและสาธิตการ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสร้างสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากในเด็กปฐมศึกษา

ร้อยละ 100 ของเด็ก 6ปี - 12 ปี 11 เดือน 29 วัน ได้รับบริการตรวจฟัน

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

อีตราการปราศจากฟันผุของเด็กประถมศึกษาในเขตเทศบาลตำบลห้วยยอดเพิ่มสุงขึ้นและผ่านเกณฑ์การประเมินตามตัวชี้วัดระดับประเทศ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 พ.ค. 2567 15:38 น.