กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มศักยภาพและสร้างเครือข่าย การป้องกันการฆ่าตัวตายในชุมชน
รหัสโครงการ 67-l5212-01-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลบางกล่ำ
วันที่อนุมัติ 24 เมษายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2567
งบประมาณ 17,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ พญ.ยุฑามาส วันดาว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.1,100.456place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดอัตราการฆ่าตัวตายในพื้นที่ โดยชุมชนมีส่วนร่วม

1.อัตราการฆ่าตัวตายในพื้นที่แม่ทอม เท่ากับ0

2 2. เพื่อให้ประชาชน อสม.เครือข่าย และผู้เข้าอบรม มีความรู้ความเข้าใจรับรู้ถึงสัญญาณเตือนในการฆ่าตัวตายกับคนใกล้ตัวและสามารถช่วยเหลือเบื้องต้นได้ สามารถค้นหาเฝ้าระวังและแจ้งเหตุเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย

2.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าอบรม สามารถใช้แบบคัดกรองค้นหาเฝ้าระวังและแจ้งเหตุเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
10 ต.ค. 67 กิจกรรมแนวทางการดูแลช่วยเหลือผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย 50 17,700.00 17,700.00
รวม 50 17,700.00 1 17,700.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าอบรม มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคซึมเศร้าและรับรู้ถึงสัญญาณเตือนในการฆ่าตัวตาย สามารถค้นหาเฝ้าระวังและแจ้งเหตุเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย
  2. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าอบรม สามารถใช้แบบคัดกรองค้นหาเฝ้าระวังและแจ้งเหตุเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย
  3. มีรูปแบบแนวทางการดูแลช่วยเหลือผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย และการติดตามดูแลในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 พ.ค. 2567 09:30 น.