กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา


“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงตำบลทุ่งตำเสา ”

ตำบลทุ่งตำเสา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาลัชฎาวรรณ สุวรรณะ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงตำบลทุ่งตำเสา

ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5275-01-006 เลขที่ข้อตกลง 16

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงตำบลทุ่งตำเสา จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงตำบลทุ่งตำเสา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงตำบลทุ่งตำเสา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา รหัสโครงการ 67-L5275-01-006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 106,946.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อโดยมียุงลายเป็นพาหะ ที่สร้างความสูญเสียทั้งชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและสร้างความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งปัจจุบันยังพบโรคไข้เลือดออกมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วย ซึ่งในเดือนมกราคมที่ผ่านมาพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกแล้ว 8,197 ราย มากกว่าปี 2566 ถึง 1.9 เท่า (4,286 ราย) และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง พบผู้ป่วยสูงสุดในกลุ่มอายุ 5-14 ปี โดยพบมากทางภาคใต้ และภาคกลาง รายงานผู้เสียชีวิตยืนยันแล้ว 13 ราย กระจายใน 11 จังหวัด และเสียชีวิตมากสุดในกลุ่มที่อายุมากกว่า 65 ปี สถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่จังหวัดสงขลา ยังคงน่าเป็นห่วงโดยมีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต 2 ราย รายแรก เป็นแพทย์หญิง สังกัด ร.พ.สงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ ส่วนอีก รายเป็นเด็กอยู่อ.คลองหอยโข่ง โดยคาดในเดือนม.ค. 2567 จะมีผู้ป่วยเฉลี่ย 300-400 ราย โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีชุมชนหนาแน่น อย่างใน อ.หาดใหญ่ อ.เมือง และ อ.สะเดา ยังต้องเฝ้าระวัง ส่วนพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสา ณ วันที่ 1 ม.ค. – 1 มี.ค. 2567มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 19 ราย และในปี 2566 มีผู้ป่วยทั้งหมดจำนวน 92 ราย และมีผู้เสียชีวิต ในพื้นที่ หมู่ 2 จำนวน 1 ราย นอกจากโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ยังพบผู้ป่วยโรคติดต่อโดยยุงอื่นอีก 2 ราย คือ โรคมาลาเรีย และในปี 2565 - 2564 มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 5ราย แลไข้มาลาเรีย จำนวน 4 รายซึ่งโรคดังกล่าวถือเป็นปัญหาสาธารณสุขเช่นกัน โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖6 ที่ผ่านมา เทศบาลเมืองทุ่งตำเสาและภาคีเครือข่ายในพื้นที่ได้ดำเนินการ รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคมาโดยตลอด แต่ปัญหาที่พบและมีความสำคัญต่อการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค คือ ชุมชนส่วนหนึ่งยังมีแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุง และที่พักอาศัยยุง ซึ่งยังพบผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องแม้ในช่วงหน้าร้อน จะเห็นได้ว่าการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสายังเป็นสถานการณ์ที่น่าเป็นห่วง จำเป็นต้องได้รับการ ควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงจัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุง ตำบลทุ่งตำเสาขึ้น เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกซึ่งถือเป็นโรคประจำถิ่นในพื้นตำบลทุ่งตำเสา และโรคติดต่อโดยยุง สร้างภาคีเครือข่ายในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคตำบลทุ่งตำเสาให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการควบคุมโรค โดยการรักษาความสะอาด กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเองโดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและเตรียมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างจริงจังและต่อเนื่อง และเพื่อจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และเวชภัณฑ์ ต่างๆ สำหรับใช้ในการป้องการควบคุมโรคไข้เลือดออก หากมีการระบาดเกิดขึ้นในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเฝ้าระวังการป้องกัน ควบคุม การเกิดโรคที่มียุงเป็นพาหะในพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑. จัดประชุมคณะกรรมการ SRRT ตำบลทุ่งตำเสา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อติดตาม/เฝ้าระวังและ กำหนดแนวทางควบคุมโรคในพื้นที่
  2. ๒. กิจกรรมประกวดบ้าน/ชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย
  3. ๓. จัดเตรียมสื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องโรค ไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงแก่ประชาชนใน พื้นที่ตำบลทุ่งตำเสา
  4. ๔. กิจกรรมการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงในพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสาโรค
  5. 5. กิจกรรมอบรมสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย ครูอนามัยของแต่ละโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุง
  2. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในรัศมี 100 เมตรได้ ๒. มีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอต่อการป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสา

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเฝ้าระวังการป้องกัน ควบคุม การเกิดโรคที่มียุงเป็นพาหะในพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสา
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกได้รับการพ่นสารเคมีกำจัดยุงเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคที่ติดต่อโดยยุง 2. ประชาชนและนักเรียน มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการป้องกันโรค ผ่านเกณฑ์ประเมินร้อยละ 60
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเฝ้าระวังการป้องกัน ควบคุม การเกิดโรคที่มียุงเป็นพาหะในพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. จัดประชุมคณะกรรมการ SRRT ตำบลทุ่งตำเสา  และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อติดตาม/เฝ้าระวังและ  กำหนดแนวทางควบคุมโรคในพื้นที่ (2) ๒. กิจกรรมประกวดบ้าน/ชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย (3) ๓. จัดเตรียมสื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องโรค ไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงแก่ประชาชนใน พื้นที่ตำบลทุ่งตำเสา (4) ๔. กิจกรรมการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงในพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสาโรค (5) 5. กิจกรรมอบรมสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย          ครูอนามัยของแต่ละโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงตำบลทุ่งตำเสา จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5275-01-006

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาลัชฎาวรรณ สุวรรณะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด