ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรค ประจำปี 2567
ชื่อโครงการ | ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรค ประจำปี 2567 |
รหัสโครงการ | 67-L4119-1-5 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศรีท่าน้ำ |
วันที่อนุมัติ | 2 พฤษภาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2567 |
งบประมาณ | 18,750.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | น.ส.ฮาลีเม๊าะ ยือเลาะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.167,101.187place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน มีการแข่งขันสร้างความมั่งคงแก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่นการเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการมีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้โอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่นการรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการและมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม โดยจากข้อมูลที่ผ่านมา โรค Hypertention ปี 2564 เป็น 32 ราย ปี 2565 เป็น 34 ราย ปี 2566 เป็น 45 ราย โรค Diabetes ปี 2564 เป็น 21 ราย ปี 2565 เป็น 36 ราย ปี 2566 เป็น 40 ราย |
0.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อแกนนำสุขภาพมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเเละสามารถถ่ายทอดให้เเก่คนในชุมชนได้
|
||
2 | เพื่อพัฒนาเเละปรับสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการปรับพฤติกรรมของผู้ป่วย ได้อย่างต่อเนื่อง
|
||
3 | เพื่อพัฒนาเเนวทางเเละระบบการดูแลเเละสร้างเสริมสุขภาพเเบบครบวงจรโดยกระบวนการมีส่วนร่วม
|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.เเกนนำสุขภาพมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถถ่ายทอดแก่คนในชุมชนได้ 2.กลุ่มเสี่ยงฯ มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยได้อย่างต่อเนื่อง 3.เพื่อพัฒนาแนวทางเเละระบบการดูแลเเละสร้างเสริมสุขภาพแบบครบวงจรโดยกระบวนการมีส่วนร่วม
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 พ.ค. 2567 14:04 น.