โครงการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุสนาณี แยนา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67L70080107 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67L70080107 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,555.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตรวจสุขภาพ เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่สำคัญสำหรับทุกคน ซึ่งทำให้ทราบว่าภายในร่างกายยังแข็งแรงหรือมีความเสี่ยงในการเกิดโรคในอนาคตหรือไม่ เป็นเรื่องที่ทุกคนควรให้ความสำคัญและใส่ใจในการตรวจสุขภาพ ทั้งยังเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้เราได้รับรู้ถึงสภาพที่แท้จริงของสุขภาพร่างกาย การตรวจสุขภาพประจำปีมักถูกมองข้าม ด้วยเหตุเพราะคนจำนวนไม่น้อยมีความคิดว่า "เมื่อร่างกายยังสบายดีอยู่ก็ไม่มีความจำเป็นอะไรจะต้องไปพบแพทย์หรือไปตรวจเช็คสุขภาพร่างกาย" คนส่วนใหญ่จึงมักไปพบแพทย์ก็ต่อเมื่อเกิดความผิดปกติขึ้นกับร่างกายแล้ว ซึ่งบางครั้งก็อาจจะสายเกินไปสำหรับการเยียวยารักษากับโรคบางโรคที่จะแสดงอาการออกมาต่อเมื่ออยู่ในระยะสุดท้ายหรือระยะที่ค่อนข้างหนักแล้ว ร่างกายของคนเราถูกใช้งานคล้ายๆ กับเครื่องจักรที่ต้องทำงานอยู่ตลอดเวลา แต่เครื่องจักรยังมีช่วงเวลาได้หยุดพัก หยุดซ่อมบำรุงรักษา แต่ร่างกายของคนเรา โดยเฉพาะอวัยวะบางอย่างไม่เคยมีช่วงเวลาได้หยุดพักนับตั้งแต่เกิดจึงเป็นเรื่องธรรมดาที่เมื่อเวลาผ่านไป ร่างกายหรืออวัยวะจะต้องมีความเสื่อมถอยไปตามกาลเวลา ถ้าเป็นเครื่องจักร เมื่อเสื่อมก็ซ่อม เมื่อเสียก็เปลี่ยนอะไหล่สำรอง ฉะนั้น เราจึงควรประดับประคองมิให้อวัยวะหรือร่างกายเสื่อมเร็วกว่าที่ควรจะเป็น และหนึ่งในหนทางที่จะทำให้เราสามารถล่วงรู้ได้เท่าทันกับความเสื่อมหรือความเปลี่ยนแปลง ทั้งที่เกิดขึ้นตามกาลเวลาและเกิดขึ้นมาจากการกระทำนั้นก็คือ การตรวจสุขภาพ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลบางปู ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพบุคลากร จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพเทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ประจำปี 2567โดยมุ่งเน้นให้บุคลากรได้มีการระมัดระวังป้องกันตนเองไม่ให้เจ็บป่วย และเป็นการส่งเสริมสุขภาพ ตลอดจนสร้างขวัญกำลังใจให้แก่บุคลากร โดยให้มีการตรวจสุขภาพประจำปีให้แก่บุคลากรของเทศบาลตำบลบางปู ตามโปรแกรมตรวจสุขภาพหน่วยงานที่ได้มาตรฐาน เพื่อให้บุคลากรมีสุขภาพที่ดีสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนได้รับการบริการที่ดีต่อไป จึงกำหนดให้มีการตรวจสุขภาพบุคลากร และติดตามดูแลสุขภาพ โดยเน้นการดูแลสุขภาพตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเพื่อการมีสุขภาพดี มีประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ประชาชนต่อไปทั้งในปัจจุบันและอนาคตได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ ผู้บริหารเทศบาล พนักงานเทศบาล และพนักงานจ้าง เกิดการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่ขัดต่อสุขภาพ เกิดความตื่นตัวตระหนักในการดูแลสุขภาพ
- เพื่อให้มีโอกาสค้นหาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ
- เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ ๑ อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเพื่อการมีสุขภาพดี จำนวน 75 คน
- กิจกรรมที่ ๒ การตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 17 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
75
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ทำให้ทราบสภาพความสมบูรณ์ของร่างกาย
2 ทำให้ทราบความผิดปกติตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ช่วยลดความรุนแรง และอัตราเสี่ยงที่เกิดจากโรคบางชนิด
3 ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่มีสุขภาพกายดี สุขภาพจิตดี สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ ผู้บริหารเทศบาล พนักงานเทศบาล และพนักงานจ้าง เกิดการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่ขัดต่อสุขภาพ เกิดความตื่นตัวตระหนักในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อให้มีโอกาสค้นหาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
75
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
75
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ ผู้บริหารเทศบาล พนักงานเทศบาล และพนักงานจ้าง เกิดการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่ขัดต่อสุขภาพ เกิดความตื่นตัวตระหนักในการดูแลสุขภาพ (2) เพื่อให้มีโอกาสค้นหาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ (3) เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๑ อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเพื่อการมีสุขภาพดี จำนวน 75 คน (2) กิจกรรมที่ ๒ การตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 17 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67L70080107
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวรุสนาณี แยนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุสนาณี แยนา
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67L70080107 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67L70080107 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,555.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตรวจสุขภาพ เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่สำคัญสำหรับทุกคน ซึ่งทำให้ทราบว่าภายในร่างกายยังแข็งแรงหรือมีความเสี่ยงในการเกิดโรคในอนาคตหรือไม่ เป็นเรื่องที่ทุกคนควรให้ความสำคัญและใส่ใจในการตรวจสุขภาพ ทั้งยังเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้เราได้รับรู้ถึงสภาพที่แท้จริงของสุขภาพร่างกาย การตรวจสุขภาพประจำปีมักถูกมองข้าม ด้วยเหตุเพราะคนจำนวนไม่น้อยมีความคิดว่า "เมื่อร่างกายยังสบายดีอยู่ก็ไม่มีความจำเป็นอะไรจะต้องไปพบแพทย์หรือไปตรวจเช็คสุขภาพร่างกาย" คนส่วนใหญ่จึงมักไปพบแพทย์ก็ต่อเมื่อเกิดความผิดปกติขึ้นกับร่างกายแล้ว ซึ่งบางครั้งก็อาจจะสายเกินไปสำหรับการเยียวยารักษากับโรคบางโรคที่จะแสดงอาการออกมาต่อเมื่ออยู่ในระยะสุดท้ายหรือระยะที่ค่อนข้างหนักแล้ว ร่างกายของคนเราถูกใช้งานคล้ายๆ กับเครื่องจักรที่ต้องทำงานอยู่ตลอดเวลา แต่เครื่องจักรยังมีช่วงเวลาได้หยุดพัก หยุดซ่อมบำรุงรักษา แต่ร่างกายของคนเรา โดยเฉพาะอวัยวะบางอย่างไม่เคยมีช่วงเวลาได้หยุดพักนับตั้งแต่เกิดจึงเป็นเรื่องธรรมดาที่เมื่อเวลาผ่านไป ร่างกายหรืออวัยวะจะต้องมีความเสื่อมถอยไปตามกาลเวลา ถ้าเป็นเครื่องจักร เมื่อเสื่อมก็ซ่อม เมื่อเสียก็เปลี่ยนอะไหล่สำรอง ฉะนั้น เราจึงควรประดับประคองมิให้อวัยวะหรือร่างกายเสื่อมเร็วกว่าที่ควรจะเป็น และหนึ่งในหนทางที่จะทำให้เราสามารถล่วงรู้ได้เท่าทันกับความเสื่อมหรือความเปลี่ยนแปลง ทั้งที่เกิดขึ้นตามกาลเวลาและเกิดขึ้นมาจากการกระทำนั้นก็คือ การตรวจสุขภาพ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลบางปู ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพบุคลากร จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพเทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ประจำปี 2567โดยมุ่งเน้นให้บุคลากรได้มีการระมัดระวังป้องกันตนเองไม่ให้เจ็บป่วย และเป็นการส่งเสริมสุขภาพ ตลอดจนสร้างขวัญกำลังใจให้แก่บุคลากร โดยให้มีการตรวจสุขภาพประจำปีให้แก่บุคลากรของเทศบาลตำบลบางปู ตามโปรแกรมตรวจสุขภาพหน่วยงานที่ได้มาตรฐาน เพื่อให้บุคลากรมีสุขภาพที่ดีสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนได้รับการบริการที่ดีต่อไป จึงกำหนดให้มีการตรวจสุขภาพบุคลากร และติดตามดูแลสุขภาพ โดยเน้นการดูแลสุขภาพตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเพื่อการมีสุขภาพดี มีประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ประชาชนต่อไปทั้งในปัจจุบันและอนาคตได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ ผู้บริหารเทศบาล พนักงานเทศบาล และพนักงานจ้าง เกิดการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่ขัดต่อสุขภาพ เกิดความตื่นตัวตระหนักในการดูแลสุขภาพ
- เพื่อให้มีโอกาสค้นหาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ
- เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ ๑ อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเพื่อการมีสุขภาพดี จำนวน 75 คน
- กิจกรรมที่ ๒ การตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 17 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 75 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ทำให้ทราบสภาพความสมบูรณ์ของร่างกาย 2 ทำให้ทราบความผิดปกติตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ช่วยลดความรุนแรง และอัตราเสี่ยงที่เกิดจากโรคบางชนิด 3 ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่มีสุขภาพกายดี สุขภาพจิตดี สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ ผู้บริหารเทศบาล พนักงานเทศบาล และพนักงานจ้าง เกิดการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่ขัดต่อสุขภาพ เกิดความตื่นตัวตระหนักในการดูแลสุขภาพ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้มีโอกาสค้นหาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 75 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 75 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ ผู้บริหารเทศบาล พนักงานเทศบาล และพนักงานจ้าง เกิดการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่ขัดต่อสุขภาพ เกิดความตื่นตัวตระหนักในการดูแลสุขภาพ (2) เพื่อให้มีโอกาสค้นหาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ (3) เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๑ อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเพื่อการมีสุขภาพดี จำนวน 75 คน (2) กิจกรรมที่ ๒ การตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 17 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67L70080107
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวรุสนาณี แยนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......