กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง


“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก ”

ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม โดยนายชัยณรงค์ ศรประสิทธิ์ ตำแหน่งนายกเทศมนตรีตำบลพะตง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7890-05-001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7890-05-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever) เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเดงกี (dengue virus) ประกอบด้วย ๔ สายพันธุ์ คือ DENV-1, DENV-2, DENV-3 และ DENV-4 โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค เมื่อยุงลายดูดเลือดผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสเดงกี เชื้อจะเข้าไปฝังตัวภายในกระเพาะและต่อมน้ำลายของยุง โดยมีระยะฟักตัวประมาณ ๘ - ๑๒ วัน เมื่อยุงที่มีเชื้อไวรัสไปกัดคนอื่น ๆ ต่อ เชื้อไวรัสก็จะเข้าสู่กระแสเลือดของผู้ที่โดนกัด ก่อให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกตามมา โรคไข้เลือดออกมักพบในประเทศเขตร้อนและระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี อาการของโรคมีตั้งแต่ไม่มีอาการผิดปกติไปจนถึงเสียชีวิตได้หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่เคยได้รับเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใดจะมีภูมิคุ้มกันเฉพาะสายพันธุ์นั้น หากได้รับเชื้อไวรัสสายพันธุ์ที่ต่างออกไปจากครั้งแรกก็สามารถเป็นไข้เลือดออกได้อีก และโดยทั่วไปอาการของโรคครั้งที่สองมักรุนแรงกว่าครั้งแรก ทั้งนี้ ในแต่ละปีพบว่า  มีการกระจายของเชื้อทั้ง ๔ สายพันธุ์หมุนเวียนกัน และมีเชื้อที่เด่นแตกต่างกันไปในแต่ละปี ทำให้มีการระบาดของโรคมาโดยตลอด เนื่องจากประชาชนไม่มีภูมิต้านทานต่อเชื้อไวรัสสายพันธุ์นั้น ๆ     สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ถึงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๗ (ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวัง Digital ๕๐๖ กรมควบคุมโรค) ประเทศไทย มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก (Dengue fever: DF, Dengue hemorrhagic fever: DHF, Dengue shock syndrome: DSS) สะสมรวม ๒๖,๔๕๓ ราย อัตราป่วย ๔๑.๐๘ ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน ๒๘ ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ ๐.๑๐๖ จังหวัดสงขลา พบผู้ป่วย จำนวน ๑,๖๔๙ ราย อัตราป่วย ๑๑๗.๑๙ ต่อประชากรแสนคน ผู้เสียชีวิต จำนวน ๑ ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ ๐.๐๖๑ อำเภอหาดใหญ่ พบผู้ป่วย จำนวน ๕๖๖ ราย อัตราป่วย ๑๔๐.๐๑ ต่อประชากรแสนคน ทั้งนี้ สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลพะตง ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๖ มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน ๗๘ ราย ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๗ ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๗ ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน ๑๔ ราย ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต (ข้อมูลจากทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว อำเภอหาดใหญ่ (Surveillance and Rapid Response Team : SRRT) ณ วันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๖๗)     ตามหนังสืออำเภอหาดใหญ่ ที่ สข ๐๒๓๓/ว ๓๓๔ ลงวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๗ เรื่อง เตรียมความพร้อมใน  การควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ขอความร่วมมือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเตรียมความพร้อมด้านอุปกรณ์เคมีภัณฑ์ เวชภัณฑ์ เช่น ยาทากันยุง, สเปรย์พ่นกันยุง, ทรายอะเบท, น้ำยาพ่นยุงชนิดละอองฝอย, ถุงมือ, หน้ากากอนามัย เตรียมความพร้อมด้านเครื่องงพ่นหมอกควันหรือเครื่องพ่นละอองฝอย จัดหาให้พร้อม อยู่ในสภาพใช้งานได้ตลอดเวลา จัดให้มีสื่อประชาสัมพันธ์ แผ่นพับ โปสเตอร์ และช่องทางการสื่อสาร สนับสนุนการจัดทำโครงการด้านการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา จากงบกองทุนสุขภาพระดับตำบล โดยภาคีเครือข่ายต่าง ๆ และสนับสนุนมาตรการทางสังคมหรือนวัตกรรมควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ซึ่งเทศบาลตำบลพะตงได้ดำเนินโครงการป้องกันและควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ โดยใช้งบประมาณตาม  เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๗ ในการดำเนินการตามแนวทางดังกล่าว แต่ด้วยงบประมาณที่กำจัดจึงส่งผลให้มีงบประมาณในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกไม่เพียงพอต่อการดำเนินงานตลอดทั้งปีงบประมาณ
    ดังนั้นเพื่อป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลพะตง    จึงจัดทำโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ โดยขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลพะตง อาศัยประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๓ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดการระบาดของโรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ และคณะกรรมการกองทุนไม่อาจอนุมัติค่าใช้จ่ายตามข้อ ๑๐ ได้ทันต่อสถานการณ์ ให้ประธานกรรมการตามข้อ ๑๒ มีอำนาจอนุมัติโครงการหรือกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสาธารณสุขกรณีเกิดการระบาดของโรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อได้ตามความจำเป็นได้ไม่เกินหนึ่งแสนบาทต่อโครงการ โดยให้ถือว่าเป็นโครงการหรือกิจกรรมที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติตามประกาศนี้ด้วย แล้วรายงานผลการดำเนินงานให้คณะกรรมการกองทุนทราบ และตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา ๕๐ (๔) บัญญัติให้ เทศบาลตำบลมีหน้าที่ในการป้องกันและระงับโรคติดต่อ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อกำจัดยุงลายตัวเต็มวัยไม่ให้มีการแพร่เชื้อและขยายพันธุ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรค
  2. กิจกรรมประชาสัมพันธุ์ให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 7,747
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลพะตงลดลง เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี
  2. ควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็ว

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ลดลงร้อยละ 90 เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี
0.00

 

2 เพื่อกำจัดยุงลายตัวเต็มวัยไม่ให้มีการแพร่เชื้อและขยายพันธุ์
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนี HI, CI น้อยกว่า 10
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 7747
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 7,747
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อกำจัดยุงลายตัวเต็มวัยไม่ให้มีการแพร่เชื้อและขยายพันธุ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรค (2) กิจกรรมประชาสัมพันธุ์ให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7890-05-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม โดยนายชัยณรงค์ ศรประสิทธิ์ ตำแหน่งนายกเทศมนตรีตำบลพะตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด