กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคนเรื้อรังรู้ทันป้องกันภาวะแทรกซ้อน(รพ.สต.บ้านปลักปอม)
รหัสโครงการ 61/L3329/01/09
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้นปลักปอม
วันที่อนุมัติ 27 พฤศจิกายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2561 - 30 มิถุนายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 31 กรกฎาคม 2561
งบประมาณ 29,277.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางศิริขวัญเพ็ญสุวรรณ
พี่เลี้ยงโครงการ นายพิลือเขียวแก้ว
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ม.ค. 2561 29 มิ.ย. 2561 29,277.00
รวมงบประมาณ 29,277.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 28 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญทางสาธาณณสุขและมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวานเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธาณณสุขโดยรวม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.จัดประชุมชี้แจงโครงการ 2.ประชาสัมพันธ์และรับสมัครกลุ่มเป้าหมายเข่าร่วมโครงการ 3.จัดทำข้อบ่งชี้ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการติดตามระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตนเอง 5.กำหนดจัดกิจกรรมในการดำเนินงานในคลินิก
6.เยี่ยมบ้าน ย่องครัว ตรวจหาปริมาณเกลือโซเดียมในอาหาร 7.ตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน 8.สรุปและประเมินผลกิจกรรม

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยมีการรับรู้ความสามารถตนเอง/กำกับตนเองและสามารถดูแลตนเองได้ดีขึ้น 2.ผู้ป่วยเบาหวานมีผลHbAlc ลดลงหรือปกติ/ค่า DTX ลดลงหรือปกติ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ธ.ค. 2560 14:52 น.