กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเหล่า


“ โครงการลดโรค ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567 ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการลดโรค ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดโรค ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเหล่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดโรค ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดโรค ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเหล่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรังที่มีอัตราป่วยที่เพิ่มมากขึ้น และเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ นอกจากปัจจัยทางพันธุกรรมที่ส่งเสริมการเกิดโรค การมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ทั้งด้านอาหาร โดยรับประทานรสเค็ม มัน หวาน ขาดการออกกำลังกาย มีความเครียดสูงเรื้อรัง ดื่มแอลกฮอล์ และสูบบุหรี่เป็นประจำ นับว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดโรคดังกล่าว ซึ่งร้อยละ 50 ของผู้ที่เป็นเบาหวานประเภทที่ 2 สามารถป้องกันได้ เบาหวานประเภทที่ 2 ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในผู้ที่มีอายุมาก แต่ในปัจจุบันจะพบมากขึ้นในคนอายุน้อยลง สำหรับโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญได้แก่ โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคไตเรื้อรัง ตาบอด ปลายประสาทเสื่อมเกิดแผลเรื้อรัง เป็นสาเหตุของการตัดเท้า ซึ่งนำมาซึ่งความพิการและเสียชีวิตได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองเหล่า อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ทำหน้าที่เป็นหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ บริการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรค ฟื้นฟูสุขภาพ และให้บริการรักษาโรคเบื้องต้นในเขตพื้นที่ตำบลหนองเหล่า ในปีงบประมาณ 2567 จำนวนประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่มารับบริการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงกลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด1,235 คนได้รับบริการคัดกรองโรคเบาหวานได้ทั้งหมด 1,194 คน คิดเป็นร้อยละ 96.68 ผลการคัดกรองพบเป็นกลุ่มเสี่ยงสูงอายุต่อในเกิดโรคเบาหวาน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 3.77และพบเป็นผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน2ราย คิดเป็นร้อยละ 0.16 และกลุ่มกลุ่มเป้าหมายในการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง 1,235 รายคัดกรองได้ จำนวน 1,194 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.68 พบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง 57 ราย คิดเป็นร้อยละ4.77 และพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.41 หากประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ตระหนักในการดูแลสุขภาพ เข้ารับการคัดกรองภาวะสุขภาพ รวมทั้งมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม จะสามารถดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชน เพื่อลดโอกาสการเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงได้ รวมทั้งเมื่อเกิดการเจ็บป่วยได้รับการดูแลตั้งแต่เริ่มแรก ได้รับการค้นหาภาวะแทรกซ้อน จะลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อน และชะลอความรุนแรงของโรคได้ ดังนั้น จึงได้จัดทำโครงการลดโรค ลดเลี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง สำหรับประชาชนตำบลหนองเหล่า ปีงบประมาณ 2567 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
  4. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ด้านสุขภาพ ความเข้าใจและสามารถมีพฤติกรรมสุขภาพได้เหมาะสม ในการป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า หัวใจ หลอดเลือดและปัญหาสุขภาพช่องปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ก่อนดำเนินการ
  2. 2. ขั้นดำเนินงาน
  3. 3. ขั้นหลังดำเนินการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 199
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนที่สงสัยเป็นผู้ป่วยรายใหม่ และให้ได้รับการส่งต่อเพื่อรักษาตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
  2. ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถมีพฤติกรรมสุขภาพได้เหมาะสม ลดโอกาสการเกิดโรคแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือด
  3. ผู้ป่วยได้รับการคัดกรองและเฝ้าระวังความเสี่ยง/ภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ให้ได้รับการรักษาทันท่วงที

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง
21.43 15.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
42.06 20.00

 

3 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง
5.18 4.00

 

4 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ด้านสุขภาพ ความเข้าใจและสามารถมีพฤติกรรมสุขภาพได้เหมาะสม ในการป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า หัวใจ หลอดเลือดและปัญหาสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : ร้ยละของผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ด้านสุขภาพ ความเข้าใจและสามารถมีพฤติกรรมสุขภาพได้เหมาะสม ในการป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า หัวใจ หลอดเลือดและปัญหาสุขภาพช่องปาก
57.41 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 199
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 199
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น  เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย (4) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ด้านสุขภาพ ความเข้าใจและสามารถมีพฤติกรรมสุขภาพได้เหมาะสม ในการป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า หัวใจ หลอดเลือดและปัญหาสุขภาพช่องปาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ก่อนดำเนินการ (2) 2. ขั้นดำเนินงาน (3) 3. ขั้นหลังดำเนินการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดโรค ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด