กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ พัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมทักษะ กาย - ใจ ผู้สูงอายุ ”

ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายชะหรี เสะอากะ

ชื่อโครงการ พัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมทักษะ กาย - ใจ ผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L804 เลขที่ข้อตกลง 12/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมทักษะ กาย - ใจ ผู้สูงอายุ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมทักษะ กาย - ใจ ผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมทักษะ กาย - ใจ ผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L804 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 31 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,850.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันการแพทย์และการสาธารณสุขมีความเจริญก้าวหน้าเพิ่มมากขึ้นทำให้อายุขัยเฉลี่ยของประชาชนยืนยาวขึ้นทำให้จำนวนประชากรกลุ่มผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นด้วยด้วยความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่การสื่อสารที่ฉับไวทั่วถึงทุกมุมโลกส่งผลให้จิตใจของคนเปลี่ยนไปเป็นวัตถุนิยมมีปัญหาทางสังคมบุตรหลานแยกเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น ปัญหาทางร่างกายของผู้สูงอายุก็เปลี่ยนแปลงจากที่เคยแข็งแรงทำงานได้ก็ ไม่แข็งแรงทำงานน้อยลงมีผลถึงภาวะเศรษฐกิจต้องกลายเป็นผู้พึ่งพิงบุตรหลานหรือบางคนขาดการช่วยเหลือดูแลมีปัญหาทางด้านจิตใจเช่นไม่ได้รับการเคารพนับถือจากผู้เยาว์ขาดอิสรภาพ ส่วนบุคคลเป็นคนไม่ทันเหตุการณ์ทำให้เกิดช่องว่างระหว่างวัยมากขึ้นผู้สูงอายุปรับตัวปรับใจให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงนี้ไม่ได้ก็จะทำให้เกิดปัญหาสุขภาพทางจิตนี้ตามมารวมทั้งเป็นวัยแห่งการเสื่อมโทรมทางด้านร่างกายเพิ่มขึ้นเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ สมอง เกิดอัมพฤกษ์อัมพาตนำไปสู่ภาวะพึ่งพาและทุพพลภาพความต้องการการดูแลมากขึ้น การส่งเสริมสุขภาพนับว่ามีความสำคัญและเป็นหัวใจหลักของการปฏิรูประบบสุขภาพในประชากรกลุ่มผู้สูงอายุความเสื่อมของอวัยวะต่างๆทุกระบบทำให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพเรื้อรังตามมาทำให้ผู้สูงอายุเป็นภาระของครอบครัวและสังคมตลอดจนประเทศชาติต้องสูญเสียงบประมาณในการดูแลและรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก จึงจำเป็นที่จะต้องหาแนวทางในการที่จะให้ผู้สูงอายุตำรงค์ชีพอยู่ได้อย่างมีความสุข และจะต้องพัฒนาทักษะให้กับกลุ่มผู้สุงอายุ ให้มีความรู้ มีความเข้าใจบริบทของสังคมปัจจุบัน และเข้าถึงหน่วยงาน จุดบริการของรัฐ
บ้านบูเก็ตยามู หมู่ที่ 7 ต.ควนโดน อยู่ห่างจากตัวอำเภอไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 10 กิโลเมตร พื้นที่ติดต่อกับหมู่ที่ 10 ต.ควนสตอ และตำบลวังประจัน มีประชากรอาศัยอยู่ 182 ครัวเรือน มีผู้สูงอายุประมาณ 112 คน ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านการเกษตร มีครัวเรือนนับถือศาสนาอิสลาม 100 ละ100 ชีวิตการเป็นอยู่มีความสัมพันธ์ในชุมชนดั่งเครือญาติ พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน แต่ในบางอย่างบางกรณี ขาดทักษะในการอยู่ร่วมกันขาดทักษะในการบริหารจัดการด้านสุขภาพ แม้ว่าจะมี อสม.ประจำหมู่บ้านคอยดูแล แต่มิได้เน้นย้ำในเนื้อหาการบริหารครอบครัวกับการดูแลสุขภาพ ในวัยผู้สูงอายุจะพบโรคเบาหวาน ความดัน ไขมันในเลือด เป็นส่วนใหญ่ จากเหตุผลและความจำเป็นดังกล่าวคณะกรรมการหมู่บ้าน บ้านบูเก็ตยามู หมู่ 7 ต.ควนโดน อ.ควนโดน จ.สตูล จึงมีแนวความคิดในการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านการส่งเสริมสุขภาพให้กับผู้สูงอายุ บุคคลเหล่านี้ให้เขาได้ร่วมพัฒนาสังคม พัฒนาครอบครัว และพัฒนาตนเอง ด้านสุขภาพกายสุขภาพใจและสังคมให้ดีขึ้น ทำให้สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ ลดภาระค่าใช้จ่ายของครอบครัวสังคมในด้านการรักษาพยาบาล เพื่อส่งเสริมสุขภาพให้กับผู้สูงอายุ ด้านสุขภาพกายสุขภาพใจและสังคมให้ดีขึ้นโดยมีแกนนำผู้สูงอายุและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยงข้อง เข้าร่วมโครงการจำนวน 100 คน ดังนั้นคณะกรรมการหมู่บ้าน บ้านบูเก็ตยามูเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพิ่มความรู้ ความเข้าใจในการดูแลครอบครัวและสังคม
  2. 2.เพิ่มการเรียนในการออกกำลังกายให้เหมาะกับวัย
  3. 3.เพิ่มความสามารถในการให้ความรู้กับผู้สูงอายุทั่วๆไปและผู้ป่วยอยู่กับบ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดอบรมโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมทักษะ กาย - ใจ ผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุ ชาย - หญิง ได้เรียนรู้ทักษะการใช้ชีวิต ที่เหมาะกับวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  2. ผู้สูงอายุ ชาย - หญิง ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในชุมชนร่วมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  3. ผู้สูงอายุ ชาย – หญิง สามารถนำความรู้ที่ได้ ไปถ่ายทอดให้กับคนที่ไม่มีโอกาสมาเรียนรู้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพิ่มความรู้ ความเข้าใจในการดูแลครอบครัวและสังคม
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้ และเข้าใจ ในการดูแลครอบครัวและสังคม
0.00

 

2 2.เพิ่มการเรียนในการออกกำลังกายให้เหมาะกับวัย
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมอบรมเพิ่มการเรียนในการออกกำลังกายให้เหมาะกับวัย
0.00

 

3 3.เพิ่มความสามารถในการให้ความรู้กับผู้สูงอายุทั่วๆไปและผู้ป่วยอยู่กับบ้าน
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมอบรมได้เพิ่มความสามารถในการให้ความรู้กับผู้สูงอายุทั่วๆไปและผู้ป่วยอยู่กับบ้าน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพิ่มความรู้ ความเข้าใจในการดูแลครอบครัวและสังคม (2) 2.เพิ่มการเรียนในการออกกำลังกายให้เหมาะกับวัย (3) 3.เพิ่มความสามารถในการให้ความรู้กับผู้สูงอายุทั่วๆไปและผู้ป่วยอยู่กับบ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดอบรมโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมทักษะ กาย - ใจ ผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมทักษะ กาย - ใจ ผู้สูงอายุ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L804

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชะหรี เสะอากะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด