กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละหาร


“ โครงการ อสม. พลังชุมชน รู้ตน ลดเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ต้านเบาหวาน ความดันโลหิต ”

ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางธิติยา รัตนผลิน

ชื่อโครงการ โครงการ อสม. พลังชุมชน รู้ตน ลดเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ต้านเบาหวาน ความดันโลหิต

ที่อยู่ ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3060-2-11 เลขที่ข้อตกลง 10/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม. พลังชุมชน รู้ตน ลดเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ต้านเบาหวาน ความดันโลหิต จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละหาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม. พลังชุมชน รู้ตน ลดเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ต้านเบาหวาน ความดันโลหิต



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม. พลังชุมชน รู้ตน ลดเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ต้านเบาหวาน ความดันโลหิต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3060-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,438.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละหาร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน (DM)และโรคความดันโลหิตสูง (HT) เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดความพิการและ ตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่ เหมาะสม ภาวะความเครียด ขาดการออกกำลังกาย การดื่มสุรา สูบบุหรี่ และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่ สำคัญ อาทิ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดให้ประชากรที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป และยังไม่ป่วยด้วย โรคเบาหวาน หรือ ความดันโลหิตสูง ต้องได้รับบริการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามชุดสิทธิประโยชน์ต่อเนื่อง เป็นประจำทุกปี ปีละ 1 ครั้ง
จากข้อมูลการคัดกรองประชากรในเขตตำบลละหาร ปี 2567 ในกลุ่มรับผิดชอบที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ทั้งสิ้น 1,210 ราย ในจำนวนนี้ประชากร หมู่ที่ 4 ทีได้คัดกรองแล้ว พบว่ามีภาวะเสี่ยงเบาหวาน 14 ราย มีภาวะเสี่ยงความดันโลหิตสูง 14 ราย และเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จำนวน 8 ราย ซึ่งการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดจึงเป็นกระบวนการสำคัญ ในการค้นหากลุ่มที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค กลุ่มสงสัยป่วยหรือกลุ่มป่วยแล้วแต่ยังไม่รับการวินิจฉัยและการรักษาที่ถูกต้อง รวมถึงเป็นกระบวนการในการส่งต่อกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค และยืดระยะเวลาการเป็นโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูงในอนาคต
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 4 จึงจัดทำโครงการ “อสม.พลังชุมชน รู้ตน ลดเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ต้านเบาหวาน ความดันโลหิต” ขึ้น โดยเน้นให้ประชาชนอายุกลุ่ม 35 ปี ขึ้นไป และยังไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน หรือ ความดันโลหิตสูง เข้าถึงบริการคัดกรองสุขภาพ ได้รับการติดตามหลัง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ กลุ่มเสี่ยง เกิดความตระหนักด้านสุขภาวะโดยการตรวจสุขภาพ คัดกรอง เฝ้าระวังโรคและป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงของตนเองและชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ทุกคนได้รับการตรวจประเมินสุขภาพและจำแนกกลุ่มโดยใช้ปิงปองจราจร 7 สี
      1. มีกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ การปรับพฤติกรรมสุขภาพของ อสม. ตามการจำแนกกลุ่มด้วยปิงปอง จราจร 7 สี
      2. มีองค์กรสร้างสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ของชมรม อสม.

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ กลุ่มเสี่ยง เกิดความตระหนักด้านสุขภาวะโดยการตรวจสุขภาพ คัดกรอง เฝ้าระวังโรคและป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงของตนเองและชุมชน
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยง เกิดความตระหนักด้านสุขภาวะโดยการตรวจสุขภาพ คัดกรอง เฝ้าระวังโรคและป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงของตนเองและชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
    70.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ กลุ่มเสี่ยง เกิดความตระหนักด้านสุขภาวะโดยการตรวจสุขภาพ คัดกรอง เฝ้าระวังโรคและป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงของตนเองและชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ อสม. พลังชุมชน รู้ตน ลดเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ต้านเบาหวาน ความดันโลหิต จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 67-L3060-2-11

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางธิติยา รัตนผลิน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด