กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพจิต พิจิตสุขภาพใจ
รหัสโครงการ 67-L2502-02-14
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลกาลิซา
วันที่อนุมัติ 22 กุมภาพันธ์ 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 30 พฤษภาคม 2567 -
กำหนดวันส่งรายงาน 1 กรกฎาคม 2567
งบประมาณ 64,350.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ แอนนา เจ๊ะระวงศ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.225,101.661place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุขเผยข้อมูลจากคลินิกจิตเวชและยาเสพติด พบว่า ในปี 2565 มีผู้ป่วยเข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกจำนวน 22,481 ราย ส่วนใหญ่จากอาการ โรคจิต ซึมเศร้า วิตกกังวล ในจำนวนนี้ เป็นผู้ป่วยที่ได้รับส่งต่อ 292 ราย เป็นผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน 24 ราย ให้การดูแลผู้ป่วยใน เฉลี่ย 18 ราย/วัน ส่วนงานบำบัดยาเสพติด มีผู้ป่วยเข้ารับบริการ 253 ราย สูงสุด 3 ลำดับแรก ได้แก่ สุรา ยาบ้า และกัญชา คนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปเป็นโรคซึมเศร้าถึง 1.5 ล้านคน ขณะที่ผู้ป่วยทางจิตเวชเพิ่มขึ้นเกือบ 2 เท่าในรอบ 6 ปี นอกจากนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เราต้องเผชิญกับปัญหาสุขภาพจิต หรือโรคทางจิตเวช ในเบื้องต้น เราจึงควรฝึกสำรวจจิตใจตนเอง โดยหมั่นทำความเข้าใจอารมณ์ของตนเอง รู้เท่าทันอารมณ์ที่เกิดขึ้น ยอมรับความเครียดที่เกิดขึ้น และหาวิธีจัดการกับความเครียดนั้น รวมถึงการพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อขอคำแนะนำ อาจเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อป้องกันไม่ให้ความเครียดส่งผลกระทบต่อโรคทางกาย และเพื่อป้องกัน  ไม่ให้เจ็บป่วยด้วยโรคทางจิตใจซ้ำเติมอีกด้วย ทั้งนี้ปัญหาสุขภาพจิตเกิดจากความเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต, สังคม ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตในกลุ่มวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ตอนต้นถือเป็นช่วงเวลาที่เผชิญกับความเปลี่ยนแปลงมากมาย เช่น การเปลี่ยนโรงเรียน การใช้ชีวิตนอกบ้าน ความเศร้า ความวิตกกังวลเรื่องเศรษฐกิจ และการตั้งครรภ์ไม่พร้อม การเรียนรู้ ในการดูแลตัวเองและผู้อื่น บางคนที่ไม่สามารถรับมือและยอมรับ ความเปลี่ยนแปลงนี้ได้ จึงนำไปสู่ปัญหาสุขภาพจิตและการเจ็บป่วยทางจิตเวช

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพกลุ่มเป้าหมายให้มีความรู้ สามารถดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และประชาชนในชุมชนให้มีสุขภาพจิตที่ดี

 

2 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพจิตและการป้องกันปัญหาสุขภาพจิต

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจิต
  2. ประชาชนมีความรู้ เกี่ยวกับการลดอัตราเสี่ยงที่ทำให้เกิดความเครียด
  3. ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างสุขภาพจิต
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 พ.ค. 2567 10:11 น.