กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยนิคม 5 เข้าครัว
รหัสโครงการ 67-L4119-2-5
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนนิคมสร้างตนเองธารโต 5
วันที่อนุมัติ 2 พฤษภาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 18,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ น.ส.นิภารัตน์ ชัยสิริพัฒนา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.167,101.187place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1

กิจกรรมการประกอบอาหารสำหรับเด็ก เป็นกิจกรรมที่เชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะสำหรับเด็ก สามารถพัฒนาทักษะ EF ผ่านกระบวนการเรียนรู้จากการสังเกต ทดลอง สัมผัส และลงมือปฏิบัติจริง การจัดกิจกรรมการประกอบอาหารสำหรับเด็ก เป็นกิจกรรมที่จะช่วยให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงและเรียนรู้การทำงานอย่างเป็นระบบผ่านการทำอาหาร ช่วยให้เด็กรู้จักว่างแผนในการจัดเตรียมวัตถุดิบที่หลากหลายโดยเน้นการใช้กล้ามเนื้อมือและนิ้วมือในการลงมือปฏิบัติจริง จากการทำกิจกรรมประกอบอาหารตามขั้นตอนต่างๆ ที่เหมาะสมกับเด็ก ตลอดจนได้เรียนรู้และรู้จักอุปกรณ์ต่างๆในการประกอบอาหาร ช่วยให้เด็กเกิดความคิดรวบยอดและพัฒนาทักษะอย่างสมดุล ทั้งยังปลูกฝันให้เด็กมีพฤติกรรมด้านสุขอนามัยโภชนาการที่ดี ตลอดจนเกิดความภาคภูมิใจในตัวเองในการประกอบอาหารเองจนปลูกฝังให้ตนเองรักการรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะเเละมีสารอาหารที่ดีครบถ้วนในเเต่ละวันจนอาจช่วยป้องกันภาวะทุพโภชนาการในตัวเด็กได้ เนื่องจากเก็บข้อมูลสถิติด้านโภชนาการในปีการศึกษา 2566 พบว่า มีนักเรียนโรงเรียนนิคมสร้างตนเองธารโต5 ตั้งเเต่ระดับชั้น อนุบาล 1- ประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 30 คน จากจำนวนทั้งสิ้น 127 คน มีภาวะทุพโภชนาการ คือน้ำหนักเเละส่วนสูงไม่สมดุลกัน อันเนื่องมาจากการขาดการรับประทานอาหารที่เพียงพอตั้งเเต่มื้อเช้าจากที่บ้าน จนมาถึงโรงเรียนในมื้อกลางวันที่นักเรียนไม่ยอมทานอาหารเที่ยงที่ทางโรงเรียนจัดหาให้   ดังนั้น ทางโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยเข้าครัว ให้แก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน จำนวน 144 คน เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ใช่เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เเละอาจช่วยลดภาวะทุพโภชนาการในตัวเด็กได้

0.00
2 -
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็กได้รู้จักเมนูอาหารเเละเกิดพัฒนาการด้านสมอง

 

2 เพื่อให้สิทธิเด็กได้ลงมือปฏิบัติจากการเรียนรู้ลงมือด้วยประสบการณ์จริง

 

3 เพื่อสนับสนุนให้เด็กรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
รวม 0 0.00 0 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กนักเรียนจำนวนร้อยละ 95 ได้รู้จักเมนูอาหารเเละเกิดพัฒนาการด้านสมองที่ดีขึ้น 2.เด็กนักเรียนร้อยละ 100 ได้ลงมือปฏิบัติจากการเรียนรู้ลงมือด้วยประสบการณ์จริง 3.เด็กนัเรียนร้อยละ 100 รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 พ.ค. 2567 14:26 น.