กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการครัวสุขภาพดีที่บ้านต่อยอด ”



หัวหน้าโครงการ
นางสอลีฮะ ฮะปาน นางปีด๊ะ สาเล๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการครัวสุขภาพดีที่บ้านต่อยอด

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5284-02-05 เลขที่ข้อตกลง สปสช 12/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 กันยายน 2567 ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการครัวสุขภาพดีที่บ้านต่อยอด จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการครัวสุขภาพดีที่บ้านต่อยอด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการครัวสุขภาพดีที่บ้านต่อยอด " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L5284-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 กันยายน 2567 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญของระบบสุขภาพทั้งในระดับโลกและในระดับประเทศ โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นสาเหตุการเสียชีวิตถึง ร้อยละ 71 ของการเสียชีวิตในระดับโลก และ ร้อยละ 75 ของการเสียชีวิตในประชากรไทย ซึ่งประมาณครึ่งหนึ่งเป็นการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร จากข้อมูลจำนวนและอัตราตายด้วยโรคไม่ติดต่อ ของกองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข ย้อนหลัง 3 ปี (2562-2564) พบว่า ประเทศไทยมีอัตราตายต่อแสนประชากรจากโรคเบาหวานอยู่ที่ 25.30 , 25.05 และ 24.55 อัตราตายต่อแสนประชากรจากโรคความดันโลหิตสูง มีจำนวน 14.21 , 14.22 และ 14.48 ตามลำดับ ในส่วนของอัตราป่วยจากข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี ( 2562-2564 ) พบว่าอัตราป่วยต่อแสนประชากรด้วยโรคเบาหวาน คือ 1,344.95 , 1,439.04 และ 1,528.91 อัตราป่วยต่อแสนประชากร ด้วยโรคความดันโลหิตสูง อยู่ที่ 2,091.28 , 2,245.09 และ 2,388.84 ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า อัตราป่วยจากทั้งโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีอัตราที่เพิ่มขึ้นโดยตลอด สถานการณ์อัตราตายต่อแสนประชากร ของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในจังหวัดสตูล พบอุบัติการณ์การป่วยด้วยโรคโรคไม่ติดต่อเรื้อรังทั้งโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่นกันโดยมี อัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานต่อแสนประชากร ย้อนหลัง 3 ปี (2563-2565) อยู่ที่ 308.74 , 416.85 และ 413.75 อัตราป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงต่อแสนประชากร ย้อนหลัง 3 ปี (2563-2565) อยู่ที่ 972.24 , 1,070.66 และ 1,006.36 ตามลำดับ และจากข้อมูลการคัดกรองประชาชนในจังหวัดสตูล พบว่ากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานที่ได้รับการคัดกรอง แล้วพบความเสี่ยงได้รับการวินิจฉัยว่าป่วยในปีถัดมา ตั้งแต่ปี 2563 – 2566 มีข้อมูลเป็น ร้อยละ 1.39 , 1.74 , 1.92 และ 1.57 ข้อมูลกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ที่ได้รับการคัดกรองแล้ว พบความเสี่ยงได้รับการวินิจฉัยว่าป่วยในปีถัดมา ในปี 2565 มีร้อยละ 5.39 และปี 2566 มีร้อยละ 5.18 ซึ่งจากข้อมูลการคัดกรองสุขภาพประชาชนพบว่ากลุ่มเสี่ยงมีแนวโน้มที่จะถูกได้รับการวินิจฉัยให้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น (รายงาน Health Data Center,2566)ในอำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2564-2566 มีจำนวน 1,048 1,059 1,121 ตามลำดับ จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ปี 2564-2566 มีจำนวน 2,9272,9443,062 ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า จำนวนผู้ป่วยจากทั้งโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีจำนวนที่เพิ่มขึ้นมาโดยตลอด ข้อมูลสถานการณ์โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกุบังปะโหลด ตำบลควนสตอ ปี 2564 – 2566 พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งหมด จำนวน 104 ราย ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ย้อนหลัง 3ปี (2564-2566) จำนวน 6,4 และ 6 ตามลำดับ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด จำนวน 216 รายผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ย้อนหลัง 3ปี (2564-2566) ดังนี้ จำนวน 16,12 และ 9 รายตามลำดับนอกจากนี้ยังมีกลุ่มเสี่ยงที่ได้จากการคัดกรองสุขภาพของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป แบ่งเป็นเสี่ยงกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ย้อนหลัง 3 ปี (2564-2566)จำนวน 283,111และ164 ราย ตามลำดับ โรคความดันโลหิตสูง ย้อนหลัง 3 ปี 2564 (2564-2566) จำนวน 585,398และ 612 ราย ตามลำดับ กลุ่มเสี่ยง ทั้งโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ย้อนหลัง 3ปี (2564-2566) จำนวน 194,70 และ 146 รายตามลำดับ (รายงาน Health Data Center,2566) ผลการคืนข้อมูลจากการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงให้กับอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ พบว่าจำนวนประชากรที่รับบริการตรวจคัดกรองจากข้อมูลของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกุบังปะโหลด ปีงบประมาณ 2566 พบว่า หมู่ที่1-4 ตำบลควนสตอ ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง เป้าหมาย 783 คน คัดกรองได้ 635 คน คิดเป็นร้อยละ 81.10 พบกลุ่มปกติ 377 คน คิดเป็นร้อยละ 59.37 กลุ่มเสี่ยงความดัน 134 คน เป็นร้อยละ 21.10 กลุ่มสงสัยป่วย 113 คน คิดเป็นร้อยละ 17.80 กลุ่มป่วยส่งพบแพทย์ ได้รับการวินิจฉัย จำนวน 22 คน ตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน เป้าหมาย 974 คน คัดกรองได้ 812 คน คิดเป็นร้อยละ 83.37 พบกลุ่มปกติ 611 คน คิดเป็นร้อยละ 75.25 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 178 คน เป็นร้อยละ 21.92 กลุ่มสงสัยป่วย 15 คน ส่งพบแพทย์ได้รับการวินิจฉัย จำนวน 13 คน กลุ่มเสี่ยงทั้งโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 134 คน ข้อมูลผู้ป่วยหมู่ที่ 4 บ้านกลาง ปี 2566 ผู้ป่วยความดันรายใหม่ จำนวน 7 คน ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จำนวน 4 คน กลุ่มเสี่ยง 71 คน ซึ่งผลการคืนข้อมูล นำมาจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมถึงครัวถึงใจต่อยอดในปี งบประมาณ 2567 ให้ครอบคลุม พบว่าประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมโครงการจำนวน 70 คน มีการให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ.2ส. การประเมินภาวะสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง การสอนความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง การลงติดตามกลุ่มเสี่ยงที่บ้าน การลงเยี่ยมถึงครัวเป็นการดูการกินการอยู่ที่จะทำให้คน สุขภาพดีหรือป่วย ซึ่งผลการจัดกิจกรรมปี 2566 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เพิ่มขึ้นหลังการอบรม ประชาชนมีความพึงพอใจ เป็นประโยชน์ในการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงและมีการติดตามโดย อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 4 บ้านกลาง จัดทำโครงการครัวสุขภาพดีที่บ้านต่อยอดปี 2567 ให้ครอบคลุมประชากรในหมู่บ้านเพื่อเป็นการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงให้กับประชาชน หมู่ที่ 4 บ้านกลาง ซึ่งเป็นโรคที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการกิน เพื่อเป็นต้นแบบในการแก้ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อให้ความรู้ผู้เข้าอบรมในเรื่อง 3อ2ส. ข้อที่ 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส.ที่พึงประสงค์ของคนไทย โดยกองสุขศึกษา ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการเยี่ยมครัวสุขภาพดีที่บ้าน ข้อที่ 4 จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน รายใหม่ลดลง ข้อที่ 5 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง รายใหม่ลดลง ข้อที่6 กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามความดันโลหิตและเจาะน้ำตาล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ประชาชน มีความรู้ในการเลือกผลิตภัณฑ์ ฉลากโภชนาการ ร้อยละ 80 2.ประชาชนได้รับการดูแลครัวสุขภาพดีที่บ้านครอบคลุมร้อยละ 80
    3.ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ 5 7.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงลดลง ร้อยละ 2.5


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ 1. เพื่อให้ความรู้ผู้เข้าอบรมในเรื่อง 3อ2ส. ข้อที่ 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส.ที่พึงประสงค์ของคนไทย โดยกองสุขศึกษา ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการเยี่ยมครัวสุขภาพดีที่บ้าน ข้อที่ 4 จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน รายใหม่ลดลง ข้อที่ 5 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง รายใหม่ลดลง ข้อที่6 กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามความดันโลหิตและเจาะน้ำตาล
    ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1.ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ในเรื่อง 3อ2ส.เพิ่มขึ้น ร้อยละ80 ข้อที่ 2.กลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส.ที่พึงประสงค์ของคนไทย โดยกองสุขศึกษา ร้อยละ 100 ข้อที่ 3.กลุ่มเป้าหมายได้รับการเยี่ยมครัวสุขภาพดีที่บ้านร้อยละ 80 ข้อที่ 4 จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน รายใหม่ลดลงไม่เกินร้อยละ 5 ข้อที่ 5 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง รายใหม่ลดลงไม่เกินร้อยละ 2.5 ข้อที่ 6กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามครอบคลุมร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้ความรู้ผู้เข้าอบรมในเรื่อง 3อ2ส.  ข้อที่ 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส.ที่พึงประสงค์ของคนไทย โดยกองสุขศึกษา ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการเยี่ยมครัวสุขภาพดีที่บ้าน ข้อที่ 4 จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน  รายใหม่ลดลง ข้อที่ 5 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง รายใหม่ลดลง ข้อที่6 กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามความดันโลหิตและเจาะน้ำตาล

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการครัวสุขภาพดีที่บ้านต่อยอด จังหวัด

    รหัสโครงการ 67-L5284-02-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสอลีฮะ ฮะปาน นางปีด๊ะ สาเล๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด