กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการชุมชนในทอน ผู้สูงวัยฟันดี ชีวีมีสุข ปี 2567 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนในทอน ผู้สูงวัยฟันดี ชีวีมีสุข ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L6895-02-20 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนในทอน ผู้สูงวัยฟันดี ชีวีมีสุข ปี 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนในทอน ผู้สูงวัยฟันดี ชีวีมีสุข ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนในทอน ผู้สูงวัยฟันดี ชีวีมีสุข ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L6895-02-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,125.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุ นับเป็นกลุ่มประชากรที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมไทยที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสำคัญ ให้การยกย่องนับถือ เนื่องจากเป็นกลุ่มบุคคลที่เคยเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ เมื่อครั้งยังอยู่ในวัยทำงาน สำหรับประเทศไทย  สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว กลุ่มผู้สูงอายุจึงเป็นกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่สังคม จำเป็นต้องให้การช่วยเหลือเกื้อกูลให้สามารถใช้ชีวิตประจำวันอย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ซึ่งวัยสูงอายุที่เพิ่มขึ้น อาจจะนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นวัยบั้นปลายของชีวิต เป็นวัยที่ต้องพึ่งพาบุตรหลาน และพึ่งพาตนเองได้น้อยลง เพราะมีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป มีความเสื่อมของร่างกาย และเจ็บป่วยได้ง่าย ปัญหาด้านสุขภาพที่พบได้บ่อยๆ ในผู้สูงอายุได้แก่ เกิดภาวะกระดูกหักง่าย สายตาไม่ดี หูตึง ฟันไม่ดี เป็นลมบ่อย เรอบ่อย ท้องผูก เบาหวาน หลงลืมบ่อย หัวใจและหลอดเลือด รวมถึงมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและสังคม ผู้สูงอายุ เป็นอีกวัยหนึ่งที่ต้องให้ความสำคัญเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก คนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าควรส่งเสริมสุขภาพช่องปากในวัยเด็กเท่านั้น แต่ความจริงแล้ววัยสูงอายุก็มีความสำคัญเช่นเดียวกัน เพราะเมื่อร่างกายมีอายุมากขึ้น ระบบการทำงานของอวัยวะในร่างกายต่างๆ ก็จะเสื่อมสภาพ รวมทั้งเหงือกและฟันที่อยู่ในช่องปากด้วย ผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพครั้งล่าสุดในปี 2557 พบว่าผู้ที่มีอายุ 60-74 ปี เสียฟันทั้งปากแล้ว ร้อยละ 7.2 และสูญเสียบางส่วนเกือบทุกคน ส่งผลให้เกิดความต้องการฟันเทียมทั้งปากเพื่อการเคี้ยวอาหารเพิ่มขึ้น  อีกทั้งโรคในช่องปากที่นำไปสู่การสูญเสียฟันในกลุ่มผู้สูงอายุ  ทั้งโรคฟันผุ โรคปริทันต์และรากฟันผุเป็นโรคเรื้อรังที่สะสมมาก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ ความชุกและความรุนแรงจะเพิ่มขึ้นตามเวลาที่ผ่านไปเพราะ "ฟัน" คือปราการด่านแรกของกระบวนการเผาผลาญอาหาร ฟันที่ดีและแข็งแรง จะช่วยบดเคี้ยวอาหารที่ดีส่งไปสู่ลำไส้ และต่อเนื่องไปถึงกระบวนการที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ตามมา "ฟัน" จึงเป็นอวัยวะอันดับต้นๆ ที่เราต้องใส่ใจ  ในกลุ่มผู้สูงอายุนั้น เป็นกลุ่มที่พบการสูญเสียฟันอย่างชัดเจน การสูญเสียฟันในผู้สูงอายุมีค่าเฉลี่ยมากกว่า 10 ซี่/คน  อาจกล่าวได้ว่า ผู้สูงอายุเกือบทุกคนมีปัญหาการบดเคี้ยวอาหาร การปราศจากฟันทั้งปาก ซึ่งเป็นดัชนีที่บ่งบอกถึงผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอย่างชัดเจน ดังนั้นสุขภาพช่องปากจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งกับสุขภาพโดยรวมของร่างกาย โดยเฉพาะในวัยสูงอายุที่สภาพร่างกายเริ่มทรุดโทรมจากการใช้งาน การมีสุขภาพช่องปากที่ดีส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถรับประทานอาหารได้หลากหลายได้สารอาหารครบถ้วน ที่จะไปช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกาย สามารถที่จะดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุขต่อไป ทางกลุ่มแกนนำสุขภาพชุมชนในทอน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ ในการส่งเสริมสุขภาพให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดี จึงได้จัดทำโครงการชุมชนในทอน ผู้สูงวัยฟันดี ชีวีมีสุข ปี 2567 ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ให้สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญ ในการดูแลสุขภาพอนามัยและสุขภาพช่องปากของตนเองมากขึ้น
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนมีสุขภาพช่องปากที่ดี และผู้ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับการแก้ไข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 40
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุที่สนใจเข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพอนามัยและสุขภาพช่องปากของตนเองมากขึ้น
    2. ผู้สูงอายุในชุมชนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับการส่งต่อเพื่อรักษา

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญ ในการดูแลสุขภาพอนามัยและสุขภาพช่องปากของตนเองมากขึ้น
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนมีสุขภาพช่องปากที่ดี และผู้ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับการแก้ไข
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากและฟัน ได้รับการดูแล ส่งเสริมป้องกันและรักษา 2. ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรม มีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมาก

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 40
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญ ในการดูแลสุขภาพอนามัยและสุขภาพช่องปากของตนเองมากขึ้น (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนมีสุขภาพช่องปากที่ดี และผู้ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับการแก้ไข

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนในทอน ผู้สูงวัยฟันดี ชีวีมีสุข ปี 2567 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67-L6895-02-20

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด