กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป้น


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป้น ปี 2567 (ภายใต้โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน สู่ 2500 วัน) ”

ตำบลแป้น อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพาซือมา กือจิ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป้น ปี 2567 (ภายใต้โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน สู่ 2500 วัน)

ที่อยู่ ตำบลแป้น อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L0000-01-05 เลขที่ข้อตกลง 05/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป้น ปี 2567 (ภายใต้โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน สู่ 2500 วัน) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแป้น อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป้น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป้น ปี 2567 (ภายใต้โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน สู่ 2500 วัน)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป้น ปี 2567 (ภายใต้โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน สู่ 2500 วัน) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแป้น อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L0000-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป้น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในช่วง 1,000 วันแรกของชีวิตนับตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงสองขวบปีแรกเป็นช่วงทองของเด็กที่สำคัญที่สุดในการพัฒนาการสมองเพราะเป็นช่วงที่โครงสร้างสมองมีการพัฒนาสูงสุดทั้งการสร้างเซลล์สมองและการเชื่อมโยงระหว่างเซลล์สมองเกิดเป็นโครงข่ายใยประสานนับล้านโครงข่าย ทำให้เกิดการสื่อสารระหว่างเซลล์อย่างมีประสิทธิภาพมีผลต่อพัฒนาการทางสมองของเด็กส่งผลต่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ เด็กควรได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนในช่วงดังกล่าว โดย 270 วันอยู่ในท้องแม่ ช่วง 180 วัน (แรกเกิดถึง 6 เดือน) จากนั้น 550 วัน (หลัง 6 เดือนถึง 2 ปี) ลูกควรได้รับการเตรียมพร้อมสมองร่วมกับพัฒนาทักษะของเด็กโดยกระบวนการกระตุ้นผ่านกิจวัตรประจำวัน ในรูปแบบกิน กอด เล่น เล่า นอนเฝ้าดูฟัน ที่เหมาะสมจากผู้ปกครองและชุมชน ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการสร้างเด็กไทยให้มีคุณภาพ และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้ขับเคลื่อนการดำเนินงานผ่านภาคีเครือข่ายบันทึกข้อตกลงการบูรณาการความร่วมมือ ร่วมพัฒนาและยกระดับการดูแล ส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กในช่วง 1,000 วันแรก ของชีวิต ต่อเนื่องไปจนถึงเด็กอายุ 5 ปี ผ่านกลไกตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน
จากการดำเนินงานในเด็ก 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2566 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป้น พบว่า เด็กอายุแรกเกิดถึง 6 เดือนได้รับการเลี้ยงด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ร้อยละ 81.13 เด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 55 เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 12.71 (เป้าหมายร้อยละ 90) ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุ 5 ปี ร้อยละ 36.54เด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุร้อยละ 57.14 ดังนั้นเพื่อยกระดับคุณภาพงานบริการสาธารณสุขเพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี ทุกคน ได้รับบริการครบถ้วนและดูแลอย่างทั่วถึง เกิดความต่อเนื่อง ยั่งยืน และมีประสิทธิภาพในการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป้น จึงได้จัดทำโครงการ “ส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี (ภายใต้โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน สู่ 2500 วัน)เพื่อให้เด็กปฐมวัย
มีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพพัฒนาการสมวัย และมีคุณภาพชีวิตที่ดี พร้อมส่งต่อทุนมนุษย์ที่มีคุณภาพ สำหรับประเทศไทยในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำสุขภาพในชุมชนเพื่อทำความเข้าใจแนวทางการดำเนินงานการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก 1,000 วันแรกแห่งชีวิตสู่ 2500 วัน
  2. 2. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก เพื่อนำสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลสุขภาพของบุตรในด้านการส่งเสริมสุขภาพด้านต่างๆ
  3. 3. ติดตามประเมินผลโดยการสรุปผลการตรวจคัดกรองทุกกลุ่มเป้าหมาย และส่งต่อผู้ที่มีปัญหาสุขภาพเพื่อการรักษาต่อไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 50 ของเด็กอายุ 0-6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว
  2. ร้อยละ 90 เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
  3. ร้อยละ 90 เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี สูงดีสมส่วน
  4. ร้อยละ 90 เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
  5. ร้อยละ 50 ของเด็ก 3 ปี ปราศจากฟันผุ
  6. ร้อยละ 50 เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
  7. ร้อยละ 100 แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำสุขภาพในชุมชนเพื่อทำความเข้าใจแนวทางการดำเนินงานการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก 1,000 วันแรกแห่งชีวิตสู่ 2500 วัน (2) 2. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก เพื่อนำสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลสุขภาพของบุตรในด้านการส่งเสริมสุขภาพด้านต่างๆ (3) 3. ติดตามประเมินผลโดยการสรุปผลการตรวจคัดกรองทุกกลุ่มเป้าหมาย และส่งต่อผู้ที่มีปัญหาสุขภาพเพื่อการรักษาต่อไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป้น ปี 2567 (ภายใต้โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1000 วัน สู่ 2500 วัน) จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L0000-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพาซือมา กือจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด