กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสร้างนวัตกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกโรงเรียนบ้านบาเงง
รหัสโครงการ 67-L2983-02-010
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านบาเงง
วันที่อนุมัติ 6 ธันวาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 12,720.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจินดารัตน์ หนึ่งคำมี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.62,101.187place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 12 ก.ค. 2567 12 ก.ค. 2567 12,720.00
รวมงบประมาณ 12,720.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องจากยุงเป็นพาหะนำโรคหลายชนิดที่เป็นอันตรายของมนุษย์ เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย โรคเท้าช้าง เป็นต้น ซึ่งโรคไข้เลือดออกนั้นเป็นนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมาเพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลมาก สาเหตุหนึ่งที่ทำให้ปัญหาโรคไข้เลือดออกยังคุกคามชีวตประชาชนชาวไทยคือการที่ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของโรคไข้เลือดออก ทําให้ไม่มีการตื่นตัวร่วมกันป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก สําหรับองค์การอนามัยโลก แนะนําให้ใช้ทราย กําจัดลูกน้ําใส่ในแหล่งน้ําเพื่อกําจัดลูกน้ํายุง เป็นการป้องกันไม่ให้ยุงที่เป็นพาหะนําโรคหลายชนิดแพร่พันธุ์ได้ แต่จะต้องใช้ในอัตราส่วนที่ ถูกต้อง จึงจะกําจัดลูกน้ํายุงได้ คือเมื่อใส่ในแหล่งน้ําแล้วจะต้องมีความเข้มข้นที่ 1 ส่วนในล้านส่วน (ppm) โดยจะออกฤทธิ์ทําลายระบบ ประสาทและการหายใจของลูกน้ํายุงภายใน 1 ชั่วโมง และคงฤทธิ์อยู่ได้นาน 3 เดือน แต่พบว่าทรายอะเบทนั้นมีจํานวนจํากัด ไม่สามารถ ดําเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ตลอดทั้งปี ปัจจุบันมีผู้ขายตัวยาเพื่อกําจัดและป้องกันยุงขึ้นมาหลายชนิด เช่น ครีมทากันยุง ยาจุดกันยุง ยาฉีดกันยุง น้ํามันไล่ยุง เป็นต้น แต่ยากันยุงเหล่านี้ก่อให้เกิดปัญหาขึ้นมากมาย เพราะมีสารที่เป็นอันตรายผสมอยู่ ซึ่งทําให้ผู้ใช้บางคนเกิดอาการแพ้ คณะผู้จัดทําพบว่ามี ชาวบ้านในท้องถิ่นได้นําพืชสมุนไพรต่างๆ ที่มีฤทธิ์ในการไล่ยุง เป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน มาวางไว้ใกล้ตัว และในบริเวณบ้าน พบว่าสามารถไล่ยุงได้ทางโรงเรียนบ้านบาเงงจึงได้คิดที่จะศึกษาพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ในการกําจัดยุง หรือไล่ยุงขึ้นมา โดยใช้พืชสมุนไพรในท้องถิ่น ซึ่งเป็นวัสดุธรรมชาติที่มีอยู่ ในชุมชนเอง ภูมิปัญญาชาวบ้าน สู่นวัตกรรมที่นํามาใช้ในโรงเรียนและในชุมชนได้จริง โดยนําพืชสมุนไพรเหล่านี้ มาทําเป็นครีมหอมกันยุง โลชั่นสมุนไพรไล่ยุง สเปรย์ตะไคร้หอมกันยุงขึ้นมา เพื่อให้สามารถใช้งานได้สะดวกขึ้นและหยุดปัญหาการแพ้สารเคมี มาเป็นทางเลือกในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสมุนไพรในการไล่ยุง

ได้นวัตกรรมสมุนไพรไล่ยุงที่มีประสิทธฺภาพในการไล่ยุง

2 2.เพื่อให้ได้นวัตกรรมสมุนไพรไล่ยุงที่มีประสิทธิภาพในการไล่ยุงป้องกันยุงและควบคุมโรคไข้เลือดออก

 

3 3.เพื่อลดความชุกนุมของลูกน้ำยุงลายและลดอัตราการป่วยของโรคไข้เลือดออก

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 พ.ค. 2567 14:11 น.