โครงการหมู่บ้านต้นแบบ ลด และเลิกบุหรี่โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการหมู่บ้านต้นแบบ ลด และเลิกบุหรี่โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางนฤมล สุกนุ่น
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านต้นแบบ ลด และเลิกบุหรี่โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2535-01-17 เลขที่ข้อตกลง 16/67
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหมู่บ้านต้นแบบ ลด และเลิกบุหรี่โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านต้นแบบ ลด และเลิกบุหรี่โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหมู่บ้านต้นแบบ ลด และเลิกบุหรี่โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2535-01-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การสูบบุหรี่ เป็นสาเหตุสำคัญ ทำให้เกิดโรคที่คุกคามและเป็นอันตรายต่อชีวิต ได้แก่ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังโรคมะเร็งปอดโรคหลอดเลือด เป็นต้น จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ เมื่อปี 2566พบว่าคนไทยที่อายุเกิน 15ปี และสูบบุหรี่มากถึงเกือบ 11ล้านคน โดยในจำนวนนี้ 9.5 ล้านคนสูบบุหรี่เป็นประจำ และอีก 1 ล้านคนเศษ สูบเป็นครั้งเป็นคราว เมื่อเปรียบเทียบกับการสำรวจเมื่อ พ.ศ.2565พบว่าจำนวนผู้สูบบุหรี่ในขณะนี้ลดลงเพียงเล็กน้อย (ไม่ถึงร้อยละ 5) เชื่อกันว่าเป็นผลมาจากประเทศไทยไม่มีการให้บริการช่วยเลิกบุหรี่อย่างเป็นระบบและไม่ทั่วถึง จากการประเมินสถานการณ์ดังกล่าวพบว่าหากบุคคลเหล่านี้ไม่เลิกสูบบุหรี่ จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคอันสืบเนื่องจากการสูบบุหรี่ไม่ต่ำกว่า 1ใน 4 หรือกว่า 2ล้านคน
สำหรับพื้นที่เทศบาลตำบลปาเสมัส จำนวนประชากรทั้งหมด 20,392 คน และประชากร 15 ปีขึ้นไป จำนวน 14,746 คน ยังคงพบ มีผู้ที่สูบบุหรี่ที่ยังไม่สามารถเลิกได้ และพบมีนักสูบหน้าใหม่เช่นเดียวกับทุกพื้นที่ในประเทศไทย สถานการณ์การบริโภคยาสูบในตำบลปาเสมัส พบว่า มีผู้สูบบุหรี่สะสม จำนวน 2,732 คน ซึ่งแสดงถึงการมีปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพทั้งที่เกิดกับผู้สูบบุหรี่ และผู้ที่ได้รับผลกระทบจากควันบุหรี่มือสอง การเฝ้าระวัง การป้องกัน การรณรงค์ การให้ความรู้ การบำบัดฟื้นฟูและการบังคับใช้กฎหมาย จึงมีความจำเป็นต่อการดำเนินงานในการขับเคลื่อนที่จะทำให้ชุมชนในเขตตำบลปาเสมัสเป็นชุมชนปลอดบุหรี่ ประกอบกับตำบลปาเสมัสมีภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็งในการดำเนินงานต่างๆ ในพื้นที่ อาทิเช่น โรงพยาบาลส่งเสริมเสริมสุขภาพตำบล ชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้าน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ชมรมอีหม่าม ฯลฯ จึงเป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้การดำเนินงานด้านการควบคุมการบริโภคยาสูบในพื้นที่ตำบลปาเสมัสมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสำนักงานสาธารณสุขอำเภอสุไหงโก-ลก จึงได้จัดทำโครงการหมู่บ้านต้นแบบ ลด และเลิกบุหรี่โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2567 เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดชุมชนต้นแบบ สอดคล้องตามนโยบาย มาตรการ และแผนการดำเนินการตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบพ.ศ.2560 อันจะส่งต่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในตำบลปาเสมัสต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อรณรงค์และช่วยให้สมาชิกในชุมชนเลิกบุหรี่ได้
- เพื่อป้องกันไม่ให้มีผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- งบประมาณจัดประชุมคณะทำงานและประชาสัมพันธ์โครงการ
- งบประมาณสำหรับการสนับสนุนให้ชุมชนจัดสภาพแวดล้อมให้เป็นชุมชนปลอดบุหรี่ มัสยิด ปลอดบุหรี่
- งบประมาณ จัดอบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
96
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1ชุมชนมีการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลดละเลิกบุหรี่
2มีคนต้นแบบในชุมชนที่สามารถเลิกบุหรี่ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. งบประมาณ จัดอบรมให้ความรู้
วันที่ 1 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
4.1 ตั้งคณะทำงานชุมชนปลอดบุหรี่ และจัดประชุมคณะทำงาน
4.2 ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนในพื้นที่ทราบและให้ความร่วมมือความสนใจเข้าร่วมโครงการ
4.3 สำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเป้าหมายทุกครัวเรือนด้วยแบบสำรวจก่อนและหลังการดำเนินงานโครงการ และคืนข้อมูลสู่ชุมชน
4.4 จัดทำทะเบียน กลุ่มติดบุหรี่ กลุ่มเสี่ยง รวมถึงกลุ่มประชาชนที่มีความประสงค์เข้าร่วมโครงการ และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น จำนวนร้านค้าขายบุหรี่ในชุมชน จำนวนมัสยิดในชุมชน ฯลฯ
4.5 สนับสนุนให้ชุมชนจัดสภาพแวดล้อมให้เป็นชุมชนปลอดบุหรี่ และส่งเสริมการปฏิบัติตาม
กฎหมาย จัดโซนนิ่งเขตสูบบุหรี่/ไม่สูบบุหรี่
4.5.1 จัดทำนโยบายและประกาศ มัสยิด/ชุมชนปลอดบุหรี่
4.5.2 จัดประชุมคณะกรรมการมัสยิด เพื่อแจ้งเรื่องการดำเนินงานตามโครงการ
4.5.3 จัดระบบเฝ้าระวังโดยแกนนำชุมชน อาสาสมัคร อสม. ในกลุ่มเสี่ยง
4.5.4 ส่งเสริมให้มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด เช่น ร้านค้าในชุมชนห้ามขายบุหรี่
แก่เด็กที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี การห้ามติดป้ายโฆษณาบุหรี่
4.6 จัดกิจกรรมรณรงค์ให้เกิดความรู้ ความตระหนัก และค่านิยมที่ถูกต้อง โดยให้สอดคล้องกับปัญหาและวิถีวัฒนธรรมของชุมชน
4.7 จัดมุมความรู้ในมัสยิด ร้านค้าในชุมชน ให้มีสื่อ ที่ให้ความรู้แก่คนที่มีการศึกษาและวัยต่างๆ
4.8 จัดงานรณรงค์ไม่สูบบุหรี่สอดคล้องกับงานบุญ ประเพณี หรือเทศกาลต่างๆ เช่น วันงดสูบบุหรี่โลก 31 พ.ค. และวันสำคัญทางประเพณีหรือเทศกาลต่าง ๆ รณรงค์ “บ้านปลอดบุหรี่” พร้อมมอบป้าย
4.9 สนับสนุน ให้ความรู้ ช่วยเหลือให้เข้าถึงบริการ และสร้างแรงจูงใจเลิกบุหรี่ “กลุ่มติดบุหรี่”
4.9.1 สนับสนุนสร้างแรงจูงใจให้กลุ่มติดบุหรี่ให้เข้าร่วมโครงการ
4.9.2 ร่วมมือกับโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลที่มีคลินิกเลิกบุหรี่ เพื่อส่งต่อผู้ที่ต้องการเลิกบุหรี่เข้ารับคำปรึกษาแนะนำและรักษา
4.9.3 สนับสนุนสร้างแรงจูงใจให้กลุ่มติดบุหรี่เลิกบุหรี่ : รางวัลคนต้นแบบ (เลิกสูบบุหรี่)
4.9.4 สนับสนุนให้มีกลุ่ม/ชมรมเลิกบุหรี่
4.9.5 จัดทำเอกสารให้ความรู้ สร้างความเข้าใจขั้นตอนการเลิกบุหรี่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- อบรมให้ความรู้แกนนำนักเรียน จำนวน 11,600 บาท
- ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม (ผู้ดำเนินงาน 10 คน) จำนวน 10 คนๆ ละ 80 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 800 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ และผู้ดำเนินงาน
จำนวน 70 คน ๆ ละ 35 บาท/มื้อ จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 4,900 บาท
- ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 x 2 เมตร จำนวน 1 ป้าย ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 500 บาท
- ค่าป้ายห้ามสูบบุหรี่ จำนวน 6 ป้าย ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
- ค่าสมนาคุณวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 3 คน
คนละ 2 ชั่วโมง เป็นเงิน 3,600 บาท
2. อบรมให้ความรู้คณะกรรมการมัสยิด จำนวน 19,100 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ (มัสยิดละ 12 คน จำนวน 8 แห่ง และ
ผู้ดำเนินงาน 4 คน) จำนวน 100 คน ๆ ละ 80 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 8,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ และผู้ดำเนินงาน
จำนวน 100 คน ๆ ละ 35 บาท/มื้อ จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 7,000 บาท
- ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 x 2 เมตร จำนวน 1 ป้าย ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 500 บาท
- ค่าสมนาคุณวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 3 คน
คนละ 2 ชั่วโมง เป็นเงิน 3,600 บาท
0
0
2. งบประมาณจัดประชุมคณะทำงานและประชาสัมพันธ์โครงการ
วันที่ 17 กันยายน 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
4.1 ตั้งคณะทำงานชุมชนปลอดบุหรี่ และจัดประชุมคณะทำงาน
4.2 ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนในพื้นที่ทราบและให้ความร่วมมือความสนใจเข้าร่วมโครงการ
4.3 สำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเป้าหมายทุกครัวเรือนด้วยแบบสำรวจก่อนและหลังการดำเนินงานโครงการ และคืนข้อมูลสู่ชุมชน
4.4 จัดทำทะเบียน กลุ่มติดบุหรี่ กลุ่มเสี่ยง รวมถึงกลุ่มประชาชนที่มีความประสงค์เข้าร่วมโครงการ และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น จำนวนร้านค้าขายบุหรี่ในชุมชน จำนวนมัสยิดในชุมชน ฯลฯ
4.5 สนับสนุนให้ชุมชนจัดสภาพแวดล้อมให้เป็นชุมชนปลอดบุหรี่ และส่งเสริมการปฏิบัติตาม
กฎหมาย จัดโซนนิ่งเขตสูบบุหรี่/ไม่สูบบุหรี่
4.5.1 จัดทำนโยบายและประกาศ มัสยิด/ชุมชนปลอดบุหรี่
4.5.2 จัดประชุมคณะกรรมการมัสยิด เพื่อแจ้งเรื่องการดำเนินงานตามโครงการ
4.5.3 จัดระบบเฝ้าระวังโดยแกนนำชุมชน อาสาสมัคร อสม. ในกลุ่มเสี่ยง
4.5.4 ส่งเสริมให้มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด เช่น ร้านค้าในชุมชนห้ามขายบุหรี่
แก่เด็กที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี การห้ามติดป้ายโฆษณาบุหรี่
4.6 จัดกิจกรรมรณรงค์ให้เกิดความรู้ ความตระหนัก และค่านิยมที่ถูกต้อง โดยให้สอดคล้องกับปัญหาและวิถีวัฒนธรรมของชุมชน
4.7 จัดมุมความรู้ในมัสยิด ร้านค้าในชุมชน ให้มีสื่อ ที่ให้ความรู้แก่คนที่มีการศึกษาและวัยต่างๆ
4.8 จัดงานรณรงค์ไม่สูบบุหรี่สอดคล้องกับงานบุญ ประเพณี หรือเทศกาลต่างๆ เช่น วันงดสูบบุหรี่โลก 31 พ.ค. และวันสำคัญทางประเพณีหรือเทศกาลต่าง ๆ รณรงค์ “บ้านปลอดบุหรี่” พร้อมมอบป้าย
4.9 สนับสนุน ให้ความรู้ ช่วยเหลือให้เข้าถึงบริการ และสร้างแรงจูงใจเลิกบุหรี่ “กลุ่มติดบุหรี่”
4.9.1 สนับสนุนสร้างแรงจูงใจให้กลุ่มติดบุหรี่ให้เข้าร่วมโครงการ
4.9.2 ร่วมมือกับโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลที่มีคลินิกเลิกบุหรี่ เพื่อส่งต่อผู้ที่ต้องการเลิกบุหรี่เข้ารับคำปรึกษาแนะนำและรักษา
4.9.3 สนับสนุนสร้างแรงจูงใจให้กลุ่มติดบุหรี่เลิกบุหรี่ : รางวัลคนต้นแบบ (เลิกสูบบุหรี่)
4.9.4 สนับสนุนให้มีกลุ่ม/ชมรมเลิกบุหรี่
4.9.5 จัดทำเอกสารให้ความรู้ สร้างความเข้าใจขั้นตอนการเลิกบุหรี่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
7.1 งบประมาณจัดประชุมคณะทำงานและประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 5,750 บาท ค่าใช้จ่ายดังนี้
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับคณะทำงานฯ และผู้ดำเนินงาน จำนวน 50 คน ๆ ละ 35
บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,750 บาท
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการฯ ขนาด 1 x 2 เมตร แผ่นละ 500 บาท จำนวน 8 แผ่น
เป็นเงิน 4,000 บาท
0
0
3. งบประมาณสำหรับการสนับสนุนให้ชุมชนจัดสภาพแวดล้อมให้เป็นชุมชนปลอดบุหรี่ มัสยิด ปลอดบุหรี่
วันที่ 17 กันยายน 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
7.2 งบประมาณสำหรับการสนับสนุนให้ชุมชนจัดสภาพแวดล้อมให้เป็นชุมชนปลอดบุหรี่ มัสยิด
ปลอดบุหรี่ จำนวน 14,200 บาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายดังนี้
- ค่าป้ายประกาศนโยบาย ขนาด 1 x 2 เมตร จำนวน 8 ป้าย ๆ ละ 500 บาท
เป็นเงิน 4,000 บาท
- ค่าป้ายห้ามสูบบุหรี่ ขนาด 30 x 60 ซม. จำนวน 16 ป้าย ๆ ละ 300 บาท
เป็นเงิน 4,800 บาท
- ค่าป้ายเขตสูบบุหรี่ ขนาด 30 x 60 ซม. จำนวน 8 ป้าย ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าสติกเกอร์ห้ามสูบบุหรี่ จำนวน 150 แผ่น ๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
8.1 ชุมชนมีการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลดละเลิกบุหรี่
8.2 มีคนต้นแบบในชุมชนที่สามารถเลิกบุหรี่ได้
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อรณรงค์และช่วยให้สมาชิกในชุมชนเลิกบุหรี่ได้
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อป้องกันไม่ให้มีผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
156
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
96
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์และช่วยให้สมาชิกในชุมชนเลิกบุหรี่ได้ (2) เพื่อป้องกันไม่ให้มีผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) งบประมาณจัดประชุมคณะทำงานและประชาสัมพันธ์โครงการ (2) งบประมาณสำหรับการสนับสนุนให้ชุมชนจัดสภาพแวดล้อมให้เป็นชุมชนปลอดบุหรี่ มัสยิด ปลอดบุหรี่ (3) งบประมาณ จัดอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการหมู่บ้านต้นแบบ ลด และเลิกบุหรี่โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2535-01-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนฤมล สุกนุ่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการหมู่บ้านต้นแบบ ลด และเลิกบุหรี่โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางนฤมล สุกนุ่น
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2535-01-17 เลขที่ข้อตกลง 16/67
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหมู่บ้านต้นแบบ ลด และเลิกบุหรี่โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านต้นแบบ ลด และเลิกบุหรี่โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหมู่บ้านต้นแบบ ลด และเลิกบุหรี่โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2535-01-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การสูบบุหรี่ เป็นสาเหตุสำคัญ ทำให้เกิดโรคที่คุกคามและเป็นอันตรายต่อชีวิต ได้แก่ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังโรคมะเร็งปอดโรคหลอดเลือด เป็นต้น จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ เมื่อปี 2566พบว่าคนไทยที่อายุเกิน 15ปี และสูบบุหรี่มากถึงเกือบ 11ล้านคน โดยในจำนวนนี้ 9.5 ล้านคนสูบบุหรี่เป็นประจำ และอีก 1 ล้านคนเศษ สูบเป็นครั้งเป็นคราว เมื่อเปรียบเทียบกับการสำรวจเมื่อ พ.ศ.2565พบว่าจำนวนผู้สูบบุหรี่ในขณะนี้ลดลงเพียงเล็กน้อย (ไม่ถึงร้อยละ 5) เชื่อกันว่าเป็นผลมาจากประเทศไทยไม่มีการให้บริการช่วยเลิกบุหรี่อย่างเป็นระบบและไม่ทั่วถึง จากการประเมินสถานการณ์ดังกล่าวพบว่าหากบุคคลเหล่านี้ไม่เลิกสูบบุหรี่ จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคอันสืบเนื่องจากการสูบบุหรี่ไม่ต่ำกว่า 1ใน 4 หรือกว่า 2ล้านคน สำหรับพื้นที่เทศบาลตำบลปาเสมัส จำนวนประชากรทั้งหมด 20,392 คน และประชากร 15 ปีขึ้นไป จำนวน 14,746 คน ยังคงพบ มีผู้ที่สูบบุหรี่ที่ยังไม่สามารถเลิกได้ และพบมีนักสูบหน้าใหม่เช่นเดียวกับทุกพื้นที่ในประเทศไทย สถานการณ์การบริโภคยาสูบในตำบลปาเสมัส พบว่า มีผู้สูบบุหรี่สะสม จำนวน 2,732 คน ซึ่งแสดงถึงการมีปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพทั้งที่เกิดกับผู้สูบบุหรี่ และผู้ที่ได้รับผลกระทบจากควันบุหรี่มือสอง การเฝ้าระวัง การป้องกัน การรณรงค์ การให้ความรู้ การบำบัดฟื้นฟูและการบังคับใช้กฎหมาย จึงมีความจำเป็นต่อการดำเนินงานในการขับเคลื่อนที่จะทำให้ชุมชนในเขตตำบลปาเสมัสเป็นชุมชนปลอดบุหรี่ ประกอบกับตำบลปาเสมัสมีภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็งในการดำเนินงานต่างๆ ในพื้นที่ อาทิเช่น โรงพยาบาลส่งเสริมเสริมสุขภาพตำบล ชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้าน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ชมรมอีหม่าม ฯลฯ จึงเป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้การดำเนินงานด้านการควบคุมการบริโภคยาสูบในพื้นที่ตำบลปาเสมัสมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสำนักงานสาธารณสุขอำเภอสุไหงโก-ลก จึงได้จัดทำโครงการหมู่บ้านต้นแบบ ลด และเลิกบุหรี่โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2567 เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดชุมชนต้นแบบ สอดคล้องตามนโยบาย มาตรการ และแผนการดำเนินการตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบพ.ศ.2560 อันจะส่งต่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในตำบลปาเสมัสต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อรณรงค์และช่วยให้สมาชิกในชุมชนเลิกบุหรี่ได้
- เพื่อป้องกันไม่ให้มีผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- งบประมาณจัดประชุมคณะทำงานและประชาสัมพันธ์โครงการ
- งบประมาณสำหรับการสนับสนุนให้ชุมชนจัดสภาพแวดล้อมให้เป็นชุมชนปลอดบุหรี่ มัสยิด ปลอดบุหรี่
- งบประมาณ จัดอบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 96 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1ชุมชนมีการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลดละเลิกบุหรี่ 2มีคนต้นแบบในชุมชนที่สามารถเลิกบุหรี่ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. งบประมาณ จัดอบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ4.1 ตั้งคณะทำงานชุมชนปลอดบุหรี่ และจัดประชุมคณะทำงาน
4.2 ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนในพื้นที่ทราบและให้ความร่วมมือความสนใจเข้าร่วมโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม (ผู้ดำเนินงาน 10 คน) จำนวน 10 คนๆ ละ 80 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 800 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ และผู้ดำเนินงาน
|
0 | 0 |
2. งบประมาณจัดประชุมคณะทำงานและประชาสัมพันธ์โครงการ |
||
วันที่ 17 กันยายน 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ4.1 ตั้งคณะทำงานชุมชนปลอดบุหรี่ และจัดประชุมคณะทำงาน
4.2 ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนในพื้นที่ทราบและให้ความร่วมมือความสนใจเข้าร่วมโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น7.1 งบประมาณจัดประชุมคณะทำงานและประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 5,750 บาท ค่าใช้จ่ายดังนี้ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับคณะทำงานฯ และผู้ดำเนินงาน จำนวน 50 คน ๆ ละ 35 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,750 บาท - ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการฯ ขนาด 1 x 2 เมตร แผ่นละ 500 บาท จำนวน 8 แผ่น เป็นเงิน 4,000 บาท
|
0 | 0 |
3. งบประมาณสำหรับการสนับสนุนให้ชุมชนจัดสภาพแวดล้อมให้เป็นชุมชนปลอดบุหรี่ มัสยิด ปลอดบุหรี่ |
||
วันที่ 17 กันยายน 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ7.2 งบประมาณสำหรับการสนับสนุนให้ชุมชนจัดสภาพแวดล้อมให้เป็นชุมชนปลอดบุหรี่ มัสยิด
ปลอดบุหรี่ จำนวน 14,200 บาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายดังนี้
- ค่าป้ายประกาศนโยบาย ขนาด 1 x 2 เมตร จำนวน 8 ป้าย ๆ ละ 500 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น8.1 ชุมชนมีการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลดละเลิกบุหรี่ 8.2 มีคนต้นแบบในชุมชนที่สามารถเลิกบุหรี่ได้
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อรณรงค์และช่วยให้สมาชิกในชุมชนเลิกบุหรี่ได้ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อป้องกันไม่ให้มีผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในชุมชน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 156 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 96 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์และช่วยให้สมาชิกในชุมชนเลิกบุหรี่ได้ (2) เพื่อป้องกันไม่ให้มีผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) งบประมาณจัดประชุมคณะทำงานและประชาสัมพันธ์โครงการ (2) งบประมาณสำหรับการสนับสนุนให้ชุมชนจัดสภาพแวดล้อมให้เป็นชุมชนปลอดบุหรี่ มัสยิด ปลอดบุหรี่ (3) งบประมาณ จัดอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการหมู่บ้านต้นแบบ ลด และเลิกบุหรี่โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2535-01-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนฤมล สุกนุ่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......