กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา


“ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายวิกรานต์ ราชแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7252-01-11 เลขที่ข้อตกลง 17/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7252-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 พฤษภาคม 2567 - 31 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,115.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทย ประกอบด้วยกลุ่มคนที่มีวิถีการดำเนินชีวิตที่มีความแตกต่างกัน เช่น กลุ่มเด็กและเยาวชน กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ฯลฯ โดยเฉพาะกลุ่มคนพิการ จะมีความต่างกันทั้งความพิการแต่กำเนิดและความพิการที่เกิดขึ้นภายหลัง ทั้งสาเหตุจากพันธุกรรม อุบัติเหตุและการเจ็บป่วย เป็นต้น ความพิการที่เกิดขึ้นนอกจากจะส่งผลกระทบต่อร่างกายและจิตใจของคนพิการแล้วยังส่งผลไปถึงครอบครัวและคนรอบข้างอีกด้วย ปัจจุบันจึงมีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเข้ามาดูแลส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ ให้เกิดการรับรู้ถึงสิทธิประโยชน์สิทธิขั้นพื้นฐานที่พึงได้รับ เกิดการพัฒนาทั้งทางด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต และเกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลกันของสมาชิกในครอบครัว ชุมชน ช่วยเสริมสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่คนพิการรวมทั้งให้คนพิการได้เห็นคุณค่าของตนเอง ดึงเอาศักยภาพที่ตนเองมีอยู่มาพัฒนาเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขตามอัตภาพ
เทศบาลเมืองสะเดา เป็นพื้นที่หนึ่งที่มีความหลากหลายทางด้านโครงสร้างทางสังคมและลักษณะของประชากร จากการสำรวจพบว่า มีคนพิการในพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดาทั้งสิ้นประมาณ 529 ราย ซึ่งกระจายอยู่ทุกช่วงอายุ บางรายสามารถช่วยเหลือตนเองได้ แต่บางรายไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ อีกทั้งไม่มีผู้ดูแล ส่งผลให้เกิดความยากลำบากในการดำเนินชีวิตประจำวัน กลุ่มคนพิการเหล่านี้จึงเป็นกลุ่มคนทางสังคมที่ควรให้การช่วยเหลือและควรได้รับการ    พัฒนาศักยภาพ ซึ่งจะส่งผลดีต่อการพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศชาติต่อไป เทศบาลเมืองสะเดา ในฐานะเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีอำนาจหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ.2552 มาตรา 50 ข้อ 7 ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ประกอบกับเทศบาลเมืองสะเดามีนโยบายดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ในด้าน    การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ในประเด็นการลดความเหลื่อมล้ำสร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ และประเด็น การเสริมสร้างพลังทางสังคม ในหัวข้อสร้างสังคมเข้มแข็งที่แบ่งปัน ไม่ทอดทิ้งกัน และมีคุณธรรม โดย“ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง” เทศบาลเมืองสะเดาจึงได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหา และนโยบายดังกล่าวข้างต้น จึงจัดทำโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการเพื่อส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการให้ดีขึ้นในทุกๆ ด้านทั้งด้าน สุขภาพกาย สุขภาพจิต รวมทั้งการเพิ่มพูนทักษะในด้านอาชีพ โดยใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ทำให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขตามศักยภาพของตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการให้มีการพัฒนาทั้งทางด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม
  2. ๒. เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลผู้พิการได้รับความรู้และเข้าถึงการดูแล สิทธิที่พึงได้รับจากหน่วยงานภาครัฐ
  3. 3. เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ ทักษะ และแนวทางในการดูแลคนพิการที่ถูกต้องเหมาะสม ให้ถูกต้องตามสุขลักษณะ และถูกสุขภาวะ
  4. 4. เพื่อส่งเสริม เพิ่มพูนทักษะในด้านอาชีพให้กับคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ โดยใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ทำให้เกิดความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และยังเสริมสร้างรายได้ให้กับตนเองเกิดความรู้สึกตนเองมีคุณค่า มีประโยชน์ต่อสังคมและชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 300
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. คนพิการและผู้ดูแลคนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เพิ่มขึ้นจากเดิมทั้งทางด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม ๒. คนพิการและผู้ดูแลคนพิการได้รับความรู้และได้รับการดูแล สิทธิที่พึงได้รับจากหน่วยงานภาครัฐ 3. คนพิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ ทักษะ และแนวทางในการดูแลคนพิการอย่างถูกต้องเหมาะสม ตามสุขลักษณะ และถูกสุขภาวะ 4. คนพิการและผู้ดูแลผู้พิการมีทักษะในด้านอาชีพ ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และมีรายได้เสริมทำให้เกิดความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการให้มีการพัฒนาทั้งทางด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม
    ตัวชี้วัด :

     

    2 ๒. เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลผู้พิการได้รับความรู้และเข้าถึงการดูแล สิทธิที่พึงได้รับจากหน่วยงานภาครัฐ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ ทักษะ และแนวทางในการดูแลคนพิการที่ถูกต้องเหมาะสม ให้ถูกต้องตามสุขลักษณะ และถูกสุขภาวะ
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4. เพื่อส่งเสริม เพิ่มพูนทักษะในด้านอาชีพให้กับคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ โดยใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ทำให้เกิดความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และยังเสริมสร้างรายได้ให้กับตนเองเกิดความรู้สึกตนเองมีคุณค่า มีประโยชน์ต่อสังคมและชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 300
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการให้มีการพัฒนาทั้งทางด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม (2) ๒. เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลผู้พิการได้รับความรู้และเข้าถึงการดูแล สิทธิที่พึงได้รับจากหน่วยงานภาครัฐ (3) 3. เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ ทักษะ และแนวทางในการดูแลคนพิการที่ถูกต้องเหมาะสม ให้ถูกต้องตามสุขลักษณะ และถูกสุขภาวะ (4) 4. เพื่อส่งเสริม เพิ่มพูนทักษะในด้านอาชีพให้กับคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ โดยใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ทำให้เกิดความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และยังเสริมสร้างรายได้ให้กับตนเองเกิดความรู้สึกตนเองมีคุณค่า มีประโยชน์ต่อสังคมและชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 67-L7252-01-11

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวิกรานต์ ราชแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด