กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ "กลองยาวสร้างสุข" ”

ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุมิตรา จุลวรรณา

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ "กลองยาวสร้างสุข"

ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7252-03-05 เลขที่ข้อตกลง 19/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 พฤษภาคม 2567 ถึง 28 มิถุนายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ "กลองยาวสร้างสุข" จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ "กลองยาวสร้างสุข"



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ "กลองยาวสร้างสุข" " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7252-03-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 พฤษภาคม 2567 - 28 มิถุนายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,260.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการที่ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองสะเดาได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมภายใต้การมุ่งเน้นการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลัก 5 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ อดิเรก และอนามัย) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการเตรียมความพร้อมการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีต่อการดูแลสุขภาพกายและใจให้มีความเข้มแข็งเพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรัง เช่น โรคความดันโลหิต โรคไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคสมองเสื่อมและการเจ็บป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจจนไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ต้องพึ่งพิงครอบครัว ญาติ ชุมชนและสังคม สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างปกติสุข  ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองสะเดา จึงได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมของผู้สูงอายุ โดยการนำนวัตกรรมด้านภูมิปัญญาวัฒนธรรมที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ผ่านกิจกรรมร้อง เล่น เต้น รำ ด้วยกลองยาว ซึ่งจัดได้ว่าเป็นการออกกำลังกายในรูปแบบใหม่ที่สามารถสร้างความสนใจให้ผู้สูงอายุ สร้างความแข็งแรงให้แก่ร่างกายจิตใจได้อย่างเหมาะสมวัย มีเสียงดนตรีประกอบที่สนุกสนาน คนเล่นเครื่องดนตรีก็ได้ฝึกซ้อม โดยเสียงดนตรีจะช่วยกล่อมเกลาจิตใจให้ผู้สูงอายุมีอารมณ์ ที่แจ่มใสขึ้น เครื่องดนตรีก็มีการแบกหามใช้กำลังในการตี คนรำกลองยาวก็จะได้เคลื่อนไหวร่างกายออกกำลังกาย มีความสนุกสนาน สามัคคี และยังช่วยในการพัฒนาสมองด้านความจำของผู้สูงอายุ สามารถถ่ายทอดการเล่นดนตรี การรำกลองยาวให้แก่เด็กและเยาวชนในพื้นที่ และสามารถพัฒนาต่อยอดเป็นการรวมกลุ่มอาชีพเพื่อเสริมเพิ่มรายได้ให้กับกลุ่มผู้สูงอายุต่อไปได้ในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 4.1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพตามหลัก 5 อ. ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความถนัดและสนใจของผู้สูงอายุ
  2. 4.2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้นำนวัตกรรมด้านภูมิปัญญาวัฒนธรรมที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ที่ทันสมัยผ่านกิจกรรมร้อง เล่น เต้น รำ ด้วยกลองยาว ซึ่งจัดได้ว่าเป็นการออกกำลังกายทุกส่วนของร่างกาย
  3. 4.3 เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ การเข้าสังคม สร้างความสามัคคี กลมเกลียว สุขภาพร่างกายจิตใจเบิกบาน แจ่มใสและแข็งแรง ช่วยพัฒนาสมองด้านความจำของผู้สูงอายุได้
  4. 4.4 เพื่อส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้สูงอายุลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังได้
  5. 4.5 เพื่อส่งเสริมให้มีการสืบทอด ถ่ายทอด และพัฒนาต่อยอดเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    10.1 ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพตามหลัก 5 อ. ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความถนัดและสนใจของผู้สูงอายุ
    10.2 ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนำนวัตกรรมด้านภูมิปัญญาวัฒนธรรมด้านกิจกรรมร้อง
    เล่น เต้น รำ ด้วยกลองยาวมาใช้ประโยชน์ ซึ่งกลองยาวจะทำให้ผู้สูงอายุมีความสนุกสนาน ลดความจำเจในการออกกำลังกาย 10.3 ผู้สูงอายุเกิดการรวมกลุ่มและขยายสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ เกิดการเข้าสังคม เกิดความสามัคคี กลมเกลียว
    มีสุขภาพร่างกายจิตใจเบิกบาน แจ่มใสและแข็งแรง และยังได้รับการพัฒนาสมอง เช่น การจดจำจังหวะ ดนตรี  ท่ารำ ความพร้อมเพรียง เป็นต้น
    10.4 ผู้สูงอายุจะเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีการออกกำลังกายช่วยลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังได้
    10.5 ผู้สูงอายุได้มีการสืบทอด ถ่ายทอดด้านการร้องเล่นเต้นรำกลองยาว และสามารถพัฒนาเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุได้ในอนาคต


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 4.1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพตามหลัก 5 อ. ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความถนัดและสนใจของผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด :

     

    2 4.2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้นำนวัตกรรมด้านภูมิปัญญาวัฒนธรรมที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ที่ทันสมัยผ่านกิจกรรมร้อง เล่น เต้น รำ ด้วยกลองยาว ซึ่งจัดได้ว่าเป็นการออกกำลังกายทุกส่วนของร่างกาย
    ตัวชี้วัด :

     

    3 4.3 เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ การเข้าสังคม สร้างความสามัคคี กลมเกลียว สุขภาพร่างกายจิตใจเบิกบาน แจ่มใสและแข็งแรง ช่วยพัฒนาสมองด้านความจำของผู้สูงอายุได้
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4.4 เพื่อส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้สูงอายุลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังได้
    ตัวชี้วัด :

     

    5 4.5 เพื่อส่งเสริมให้มีการสืบทอด ถ่ายทอด และพัฒนาต่อยอดเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 4.1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพตามหลัก 5 อ. ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความถนัดและสนใจของผู้สูงอายุ (2) 4.2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้นำนวัตกรรมด้านภูมิปัญญาวัฒนธรรมที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ที่ทันสมัยผ่านกิจกรรมร้อง เล่น เต้น รำ ด้วยกลองยาว ซึ่งจัดได้ว่าเป็นการออกกำลังกายทุกส่วนของร่างกาย (3) 4.3 เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ การเข้าสังคม สร้างความสามัคคี กลมเกลียว สุขภาพร่างกายจิตใจเบิกบาน แจ่มใสและแข็งแรง ช่วยพัฒนาสมองด้านความจำของผู้สูงอายุได้ (4) 4.4 เพื่อส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้สูงอายุลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังได้ (5) 4.5 เพื่อส่งเสริมให้มีการสืบทอด ถ่ายทอด และพัฒนาต่อยอดเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ "กลองยาวสร้างสุข" จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 67-L7252-03-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุมิตรา จุลวรรณา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด