โครงการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย ”
ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายโสภณ ขวัญชื่น
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พังยาง
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย
ที่อยู่ ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5225-1-05 เลขที่ข้อตกลง 011/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พังยาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5225-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,575.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พังยาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคที่พบได้บ่อยมากในผู้สูงอายุ ทำให้เกิดอาการปวดเข่า บวม เข่าฝืดยึด มีเสียงดังในเข่า ไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันได้ดังปกติซึ่งมีความรุนแรงมากน้อยต่างกันไป สาเหตุมีได้หลายประการ เช่น ผลสะสมจากความเสื่อมและการใช้ข้อเข่าที่ไม่ถูกต้องตั้งแต่ยังหนุ่มสาว การที่มีน้ำหนักตัวมาก ๆ ทำให้เข่าต้องรับน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นหลายเท่าตัวในทุกขณะที่ก้าวเดิน หรือเคยได้รับอุบัติเหตุบริเวณข้อเข่ามาก่อน บางรายเคยมีการอักเสบติดเชื้อหรือเป็นโรคไขข้อบางชนิดเช่น โรครูมาตอย เป็นต้น เกิดความทรมานแก่ผู้สูงอายุอย่างยิ่ง คุณภาพชีวิตลดลง ไม่สามารถออกกำลังกายได้ทำให้โรคอื่นๆอาจจะตามมา เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จากสถานการณ์พบว่าโรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคหนึ่งในสิบโรคที่เป็นสาเหตุสำคัญอันก่อให้เกิดผู้สูงอายุ ทุพพลภาพในประเทศไทย ทำให้ผู้ป่วยต้องมีชีวิตอยู่อย่างไร้สมรรถภาพในการประกอบอาชีพ หรือการใช้ชีวิตประจำวันเนื่องจากมีพยาธิสภาพที่กระดูกอ่อนผิวข้อ อันก่อให้มีอาการปวดจากผิวข้อชำรุดและการอักเสบหากเป็นต่อเนื่องทำให้เกิดโรคข้อเสื่อมรุนแรง ช่องว่างผิวข้อหายไป และกระดูกอ่อนผิวข้อชำรุดไปหมด หรือกระดูกปลายข้อทรุดตัว ทำให้ข้อเข่าโก่งมากขึ้นได้ ในปัจจุบันพบว่า มีการใช้ยาในการรักษาภาวะข้อเสื่อมนี้เป็นจำนวนมากรองจากยาปฏิชีวนะ (Antibiotics) โดยเฉพาะยาแก้อักเสบในกลุ่ม NSAIDs (Non-Steroid Anti-inflammatory Drugs) ซึ่งส่วนมากเป็นการรักษาอาการปวดที่ปลายเหตุเสียมากกว่า และมักจะมีผลเสียในการก่อให้เกิดปัญหาเรื่องแผลในกระเพาะอาหารตามมา อุบัติการณ์ของผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมพบประมาณ 1 ใน 3 หรือคิดเป็นร้อยละ 34.5-45.6 ของประชากรทั้งประเทศ และมีความสูญเสียทางเศรษฐกิจอย่างมาก โดยมีงานวิจัยพบว่าค่าใช้จ่ายต่อคนต่อ 1 ปี ของคนที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อม รวมทุกอย่างเช่น ค่ายาค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลหรือค่าเสียเวลาในการดูแลรักษาสุขภาพทางด้านนี้พบว่า มีค่าใช้จ่าย ประมาณปีละ 200,000 บาทต่อคน จะเห็นได้ว่าเป็นค่าใช้จ่ายที่สูงมากอาจเป็นเพราะว่า โรคข้อเข่าเสื่อมจะไม่ทำให้คนเป็นเสียชีวิตเพียงแต่ทำให้คุณภาพชีวิตลดลงเท่านั้นโดยส่วนใหญ่จะพบในผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป
การแพทย์แผนไทยนั้นปัจจุบันได้รับการสนใจมากขึ้น เนื่องจากมีการทำวิจัยเกี่ยวกับการรักษาอาการปวดเข่าเป็นจำนวน มากและมีผลของการรักษาที่ดี ซึ่งสามารถช่วยลดอาการปวดเข่าได้พอ ๆ กับการรับประทานยาทางแผนปัจจุบัน ผลจากงานวิจัยทำให้ผู้ป่วยไม่ต้องรับประทานยาแก้อักเสบที่มีผลข้างเคียง และมีแนวทางการรักษาโรคเข่าเสื่อมหลากหลายวิธีด้วยการแพทย์แผนไทย ได้แก่การนวด การประคบสมุนไพร การพอกเข่าด้วยสมุนไพรและการแปะยาสมุนไพร
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพังยาง จึงได้จัดทำโครงการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทยขึ้น โดยนำแนวทางการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยมาใช้ในการแก้ปัญหาโรคเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ เพื่อช่วยลดปริมาณการใช้ยาลดปวด และ ยังเป็นการช่วยลดค่าใช้จ่ายให้กับสถานบริการอีกด้วย แต่เนื่องจากทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพังยาง ไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ และเวชภัณฑ์ ด้านการแพทย์แผนไทยในการจัดกิจกรรมให้บริการฟื้นฟูภาวะข้อเข่าเสื่อม และการให้บริการพอกเข่าด้วยยาสมุนไพรในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม จึงจำเป็นต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลพังยาง เพื่อดำเนินโครงการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
- ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ผู้สูงอายุที่มีอาการข้อเข่าเสื่อม จำนวน 50 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด :
2
ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ผู้สูงอายุที่มีอาการข้อเข่าเสื่อม จำนวน 50 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5225-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายโสภณ ขวัญชื่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย ”
ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายโสภณ ขวัญชื่น
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5225-1-05 เลขที่ข้อตกลง 011/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พังยาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5225-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,575.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พังยาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคที่พบได้บ่อยมากในผู้สูงอายุ ทำให้เกิดอาการปวดเข่า บวม เข่าฝืดยึด มีเสียงดังในเข่า ไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันได้ดังปกติซึ่งมีความรุนแรงมากน้อยต่างกันไป สาเหตุมีได้หลายประการ เช่น ผลสะสมจากความเสื่อมและการใช้ข้อเข่าที่ไม่ถูกต้องตั้งแต่ยังหนุ่มสาว การที่มีน้ำหนักตัวมาก ๆ ทำให้เข่าต้องรับน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นหลายเท่าตัวในทุกขณะที่ก้าวเดิน หรือเคยได้รับอุบัติเหตุบริเวณข้อเข่ามาก่อน บางรายเคยมีการอักเสบติดเชื้อหรือเป็นโรคไขข้อบางชนิดเช่น โรครูมาตอย เป็นต้น เกิดความทรมานแก่ผู้สูงอายุอย่างยิ่ง คุณภาพชีวิตลดลง ไม่สามารถออกกำลังกายได้ทำให้โรคอื่นๆอาจจะตามมา เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จากสถานการณ์พบว่าโรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคหนึ่งในสิบโรคที่เป็นสาเหตุสำคัญอันก่อให้เกิดผู้สูงอายุ ทุพพลภาพในประเทศไทย ทำให้ผู้ป่วยต้องมีชีวิตอยู่อย่างไร้สมรรถภาพในการประกอบอาชีพ หรือการใช้ชีวิตประจำวันเนื่องจากมีพยาธิสภาพที่กระดูกอ่อนผิวข้อ อันก่อให้มีอาการปวดจากผิวข้อชำรุดและการอักเสบหากเป็นต่อเนื่องทำให้เกิดโรคข้อเสื่อมรุนแรง ช่องว่างผิวข้อหายไป และกระดูกอ่อนผิวข้อชำรุดไปหมด หรือกระดูกปลายข้อทรุดตัว ทำให้ข้อเข่าโก่งมากขึ้นได้ ในปัจจุบันพบว่า มีการใช้ยาในการรักษาภาวะข้อเสื่อมนี้เป็นจำนวนมากรองจากยาปฏิชีวนะ (Antibiotics) โดยเฉพาะยาแก้อักเสบในกลุ่ม NSAIDs (Non-Steroid Anti-inflammatory Drugs) ซึ่งส่วนมากเป็นการรักษาอาการปวดที่ปลายเหตุเสียมากกว่า และมักจะมีผลเสียในการก่อให้เกิดปัญหาเรื่องแผลในกระเพาะอาหารตามมา อุบัติการณ์ของผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมพบประมาณ 1 ใน 3 หรือคิดเป็นร้อยละ 34.5-45.6 ของประชากรทั้งประเทศ และมีความสูญเสียทางเศรษฐกิจอย่างมาก โดยมีงานวิจัยพบว่าค่าใช้จ่ายต่อคนต่อ 1 ปี ของคนที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อม รวมทุกอย่างเช่น ค่ายาค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลหรือค่าเสียเวลาในการดูแลรักษาสุขภาพทางด้านนี้พบว่า มีค่าใช้จ่าย ประมาณปีละ 200,000 บาทต่อคน จะเห็นได้ว่าเป็นค่าใช้จ่ายที่สูงมากอาจเป็นเพราะว่า โรคข้อเข่าเสื่อมจะไม่ทำให้คนเป็นเสียชีวิตเพียงแต่ทำให้คุณภาพชีวิตลดลงเท่านั้นโดยส่วนใหญ่จะพบในผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป
การแพทย์แผนไทยนั้นปัจจุบันได้รับการสนใจมากขึ้น เนื่องจากมีการทำวิจัยเกี่ยวกับการรักษาอาการปวดเข่าเป็นจำนวน มากและมีผลของการรักษาที่ดี ซึ่งสามารถช่วยลดอาการปวดเข่าได้พอ ๆ กับการรับประทานยาทางแผนปัจจุบัน ผลจากงานวิจัยทำให้ผู้ป่วยไม่ต้องรับประทานยาแก้อักเสบที่มีผลข้างเคียง และมีแนวทางการรักษาโรคเข่าเสื่อมหลากหลายวิธีด้วยการแพทย์แผนไทย ได้แก่การนวด การประคบสมุนไพร การพอกเข่าด้วยสมุนไพรและการแปะยาสมุนไพร
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพังยาง จึงได้จัดทำโครงการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทยขึ้น โดยนำแนวทางการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยมาใช้ในการแก้ปัญหาโรคเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ เพื่อช่วยลดปริมาณการใช้ยาลดปวด และ ยังเป็นการช่วยลดค่าใช้จ่ายให้กับสถานบริการอีกด้วย แต่เนื่องจากทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพังยาง ไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ และเวชภัณฑ์ ด้านการแพทย์แผนไทยในการจัดกิจกรรมให้บริการฟื้นฟูภาวะข้อเข่าเสื่อม และการให้บริการพอกเข่าด้วยยาสมุนไพรในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม จึงจำเป็นต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลพังยาง เพื่อดำเนินโครงการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
- ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ผู้สูงอายุที่มีอาการข้อเข่าเสื่อม จำนวน 50 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ผู้สูงอายุที่มีอาการข้อเข่าเสื่อม จำนวน 50 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5225-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายโสภณ ขวัญชื่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......