กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองรี


“ โครงการกินดีสุขภาพดีบนวิถีพอเพียง โรงเรียนวัดโคกโพธิ์ ”

ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางกลชนก ศิริรักษ์

ชื่อโครงการ โครงการกินดีสุขภาพดีบนวิถีพอเพียง โรงเรียนวัดโคกโพธิ์

ที่อยู่ ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5235-02-17 เลขที่ข้อตกลง 18/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกินดีสุขภาพดีบนวิถีพอเพียง โรงเรียนวัดโคกโพธิ์ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกินดีสุขภาพดีบนวิถีพอเพียง โรงเรียนวัดโคกโพธิ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกินดีสุขภาพดีบนวิถีพอเพียง โรงเรียนวัดโคกโพธิ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5235-02-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เศรษฐกิจพอเพียง" เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรทรงมอบแด่พสกนิกรชาวไทย เพื่อเป็นแนวทางในการดำรงชีวิตบนหลักแนวคิดพึ่งตนเอง มีคุณธรรม กับความรู้เพื่อให้คนส่วนใหญ่ พออยู่ พอกิน พอมี พอใช้ โดยคำนึงถึง 3 หลักการ ได้แก่ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ดังนั้น โรงเรียนวัดโคกโพธิ์จึงน้อมนำหลักปรัชญามาสู่การปฏิบัติเพื่อบูรณาการเนื้อหา ความรู้ กับชีวิตจริง โดยใช้กิจกรรมปลูกผักสวนครัว เพาะเห็ดนางฟ้า และเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ เพื่อนำผลิตที่ได้มาทำเป็นอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนได้รับประทานทุกวัน ทำให้นักเรียนได้มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง ตลอดจนมีสุขอนามัยที่ดีทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร 2. เพื่อจัดทำแหล่งเรียนรู้ และส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านการทำการเกษตร ด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัย 3. เพื่อพัฒนาเด็กและเยาชนในโรงเรียนในการเจริญเติบโตและทั้งร่างกาย สติปัญญาและอารมณ์อย่างเต็มศักยภาพ 4. เพื่อส่งเสริมการดำเนินชีวิตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแก่ชุมชน และผู้ปกครอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันครบถ้วนตามหลักโภชนาการสร้างความมั่นคงด้านอาหารในโรงเรียน ครัวเรือนและชุมชนเพิ่มขึ้น
      1. นักเรียนมีแหล่งเรียนรู้ และสามารถนำความรู้และประสบการณ์ด้านการเกษตร การจัดทำบัญชีครัวเรือนไปใช้ รวมถึงการประกอบอาชีพในอนาคตเพิ่มขึ้น
      2. นักเรียนที่มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงสมบูรณ์ขึ้น 4.ส่งเสริมการดำเนินชีวิตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขยายผลไปสู่หมู่บ้านและชุมชน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร 2. เพื่อจัดทำแหล่งเรียนรู้ และส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านการทำการเกษตร ด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัย 3. เพื่อพัฒนาเด็กและเยาชนในโรงเรียนในการเจริญเติบโตและทั้งร่างกาย สติปัญญาและอารมณ์อย่างเต็มศักยภาพ 4. เพื่อส่งเสริมการดำเนินชีวิตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแก่ชุมชน และผู้ปกครอง
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันครบถ้วนตามหลักโภชนาการสร้างความมั่นคงด้านอาหารในโรงเรียน ครัวเรือนและชุมชนเพิ่มขึ้น 2. นักเรียนมีแหล่งเรียนรู้ และสามารถนำความรู้และประสบการณ์ด้านการเกษตร การจัดทำบัญชีครัวเรือนไปใช้ รวมถึงการประกอบอาชีพในอนาคตเพิ่มขึ้น 3. นักเรียนที่มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงสมบูรณ์ขึ้น 4.ส่งเสริมการดำเนินชีวิตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขยายผลไปสู่หมู่บ้านและชุมชน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร 2. เพื่อจัดทำแหล่งเรียนรู้ และส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านการทำการเกษตร ด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัย  3. เพื่อพัฒนาเด็กและเยาชนในโรงเรียนในการเจริญเติบโตและทั้งร่างกาย สติปัญญาและอารมณ์อย่างเต็มศักยภาพ 4. เพื่อส่งเสริมการดำเนินชีวิตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแก่ชุมชน และผู้ปกครอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการกินดีสุขภาพดีบนวิถีพอเพียง โรงเรียนวัดโคกโพธิ์ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 67-L5235-02-17

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางกลชนก ศิริรักษ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด