โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตดี กายยั่งยืน ห่างไกลโรค
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตดี กายยั่งยืน ห่างไกลโรค |
รหัสโครงการ | 67-L3008-02-05 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมตาดีกา อบต.สาคอบน |
วันที่อนุมัติ | 22 กุมภาพันธ์ 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 24,720.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายมุคตาร์ ซีนา ชมรมตาดีกา อบต.สาคอบน |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสาคอบน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.73,101.352place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้คนในชุมชนต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมปัจจุบัน ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และค่านิยมต่าง ๆ ซึ่งก่อให้เกิดความเครียด ความขับข้องใจแยกตัวออกจากจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัวท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิต ประกอบกับที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ ต้องออกจากงาน มีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลงมีโรคทางกายมากขึ้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจคนในชุมชนทั้งสิ้น และหากคนในชุมชนไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้วจะยิ่งส่งเสริมให้คนในชุมชนมีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวังแยกตัว ออกจากสังคม เป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้
ดังนั้นชมรมตาดีกา อบต.สาคอบน จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญจึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตดี กายยั่งยืน ห่างไกลโรคขึ้นเพื่อเป็นประโยชน์สุขของประชาชนในการเห็นความสำคัญถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและแก้ไขได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ สามารถประเมินและจัดการความเครียดได้อย่างถูกวิธี ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ สามารถประเมินและจัดการความเครียดได้อย่างถูกต้อง |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ส่งเสริมด้านสุขภาพจิตในชุมชน
- กลุ่มเป้าหมายสามารถคัดกรองและติดตามผู้มีภาวะเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิตในชุมชนได้
- กลุ่มเป้าหมายสามารถค้นพบผู้ป่วยและสามารถประสานต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้ทัน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2567 15:14 น.