โครงการเพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการเพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปี 2568 |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปิยามุมัง |
วันที่อนุมัติ | 11 ตุลาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤศจิกายน 2567 - 29 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 29 สิงหาคม 2568 |
งบประมาณ | 21,250.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายอับดุลราซัค กุลตามา |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 14 มี.ค. 2568 | 14 มี.ค. 2568 | 21,250.00 | |||
รวมงบประมาณ | 21,250.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 139 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย ทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทยจากข้อมูลสถิติสาธารณสุขปี พ.ศ.2557 พบว่าอัตราตายจากโรคมะเร็งของประชากรไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น และโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทยได้แก่มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านมตามลำดับ สำหรับสตรีไทยโรคมะเร็งปากมดลูกมีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับหนึ่งของโรคมะเร็งทุกชนิด ในขณะที่อัตราการตรวจคัดกรองยังน้อย อัตราการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เป้าหมาย 70% ระดับประเทศมีอัตราการคัดกรอง38.9%, ปัตตานี 18.9%, ยะหริ่ง 2.0%นอกจากนี้ยังพบว่าการตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาผู้ที่มีความผิดปกติของปากมดลูกตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอนที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถลดอุบัติการณ์และอัตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลูกได้เนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติโดยการทำ HPV DNA Self Test ประกอบกับการดำเนินโรคเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไปและสามารถรักษาให้หายขาดได้โดยการรักษาตามระบบตลอดจนลดอัตราป่วยและตายของสตรีจากโรคมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปิยามุมัง ได้เล็งเห็นความสำคัญของการค้นหาผู้ป่วยให้เร็วที่สุดโดยดำเนินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30 – 60 ปี ค้นหามะเร็งปากมดลูก ในระยะเริ่มแรกเพื่อให้ครอบคลุมประชากรระดับหนึ่งซึ่งจะช่วยลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ อสม.และประชาชนทั่วไปมีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกหลังการอบรม อสม.และประชาชนทั่วไปมีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกหลังการอบรม ร้อยละ 80 |
50.00 | 1.00 |
2 | 2. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปีได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Self test สตรีอายุ 30-60 ปีได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Self test |
50.00 | 1.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 139 | 21,250.00 | 0 | 0.00 | 21,250.00 | |
1 มิ.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 | อบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกแก่อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปิยามุมัง | 39 | 6,750.00 | - | - | ||
1 พ.ย. 67 - 29 ส.ค. 68 | . อบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV Self Test แก่สตรีอายุ 30-60 ปี | 100 | 14,500.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 139 | 21,250.00 | 0 | 0.00 | 21,250.00 |
- อสม.และประชาชนทั่วไปมีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกหลังการอบรม ร้อยละ 80
- สตรีอายุ 30-60 ปีได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Self test ร้อยละ 70
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2567 15:42 น.