โครงการสวนสมุนไพรเพื่อสุขภาพศูนย์การเรียนรู้ตำบลน้ำน้อย
ชื่อโครงการ | โครงการสวนสมุนไพรเพื่อสุขภาพศูนย์การเรียนรู้ตำบลน้ำน้อย |
รหัสโครงการ | 2567-L8404-2-15 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์การเรียนรู้ตำบลน้ำน้อย |
วันที่อนุมัติ | 7 มิถุนายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 30 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 14,100.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวสมใจ เสระหมาน |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.103980973,100.5269584place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 30 มิ.ย. 2567 | 30 ก.ย. 2567 | 14,100.00 | |||
รวมงบประมาณ | 14,100.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน ดั้งเดิมที่อยู่คู่กับประเทศไทยมานานซึ่งมีความหลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามแต่ละสังคมวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์และลูกเห็บการรักษามีทั้งการใช้ยาสมุนไพรการนวดการผดุงครรภ์ตลอดจนการรักษาทางจิตใจโดยใช้พิธีกรรมหรือคาถาต่างๆซึ่งสามารถตอบสนองต่อความต้องการทางด้านการรักษาสุขภาพและความเจ็บป่วยของประชาชนได้เป็นอย่างดีแต่จากการพัฒนาในทุกด้านที่ยึดการพัฒนาตามระบบที่นิยมทำให้ชุมชนมีค่านิยมตามแนวทางของตะวันตกเป็นหลักโดย ด้านการจัดการสุขภาพที่เน้นการพึ่งพิงจากภายนอกเป็นส่วนใหญ่สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้ภูมิปัญญาแต่ละความรู้การดูแลสุขภาพที่มีอยู่ในชุมชนไม่ได้รับการพัฒนาและถูกทอดทิ้งจากคุณรุ่นใหม่ขาดการสืบทอดและผู้รู้ส่วนใหญ่เป็นผู้ผู้สูงอายุซึ่งนับวันจะมีจำนวนลดลงทำให้ชุมชนรับประโยชน์จากภูมิปัญญาทางเพศพื้นบ้านน้อยลงทั้งทั้งที่ความรู้เหล่านี้สามารถช่วยดูแลรักษาความเจ็บป่วยให้กับชาวบ้านได้อีกทั้งองค์ความรู้ทางการแพทย์พื้นบ้านไทยทั้งที่เป็นตัวหมอพื้นบ้านตำราพันธุ์พืชที่ใช้เป็นยาสมุนไพรวิธีการ รักษาโรคตลอดจนสังคมวัฒนธรรมประเพณีและวิถีชีวิตมีความสำคัญและที่ควรเก็บรวบรวมอนุรักษ์สมุนไพรพื้นบ้านไทยไทยเพื่อเป็นมรดกต่อลูกหลานในการสืบทอดองค์ ความรู้ศูนย์การเรียนรู้ตำบลน้ำน้อยได้มีถึงความสำคัญดังกล่าวเพื่อให้ส่งเสริมให้นัก ศึกษาปลูกและอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านจึงจัดทำโครงการสวนสมุนไพรเพื่อสุขภาพศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบลน้ำน้อยขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพร มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สมุนไพรและศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบลน้ำน้อย เป็นแหล่งรวบรวมสมุนไพร เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา
|
||
2 | เพื่อให้นักศึกษานำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคในเบื้องต้น
|
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | มิ.ย. 67 | ก.ค. 67 | ส.ค. 67 | ก.ย. 67 |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | โครงการสวนสมุนไพรเพื่อสุขภาพศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบลน้ำน้อย(30 มิ.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) | 0.00 | ||||
รวม | 0.00 |
1 โครงการสวนสมุนไพรเพื่อสุขภาพศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบลน้ำน้อย | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพร มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สมุนไพรและศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบลน้ำน้อย เป็นแหล่งรวบรวมสมุนไพร
2.นักศึกษานำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคในเบื้องต้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 มิ.ย. 2567 13:47 น.