โครงการศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ ”
ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวยัสมีน หะยีอาแว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล
กรกฎาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ
ที่อยู่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3018-1-15 เลขที่ข้อตกลง 15/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กรกฎาคม 2567 ถึง 25 กรกฎาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3018-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กรกฎาคม 2567 - 25 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 118,915.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสมุนไพรไทย เป็นพันธุ์พืชที่ควรค่าแก่การศึกษาเรียนรู้ เพราะเป็นพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย ซึ่งสมุนไพรที่สำคัญและช่วยยกระดับเศรษฐกิจให้มั่นคง และลดค่าใช้จ่ายทางการแพทย์ของไทยนั้นก็คือ สมุนไพรที่ใช้ในการแพทย์แผนไทย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของคนไทยมาเป็นเวลานาน เนื่องจากคนไทยสมัยก่อนมีค่าใช้จ่ายในด้านการรักษาพยาบาลสูง ด้วยเหตุที่ในสมัยก่อนยังไม่มีสถานบริการด้านสาธารณสุข บริการประชาชนอย่างทั่วถึงเหมือนปัจจุบัน เมื่อเกิดการเจ็บป่วยขึ้นในชุมชนหรือในครอบครัว จึงมีการนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษาพยาบาลเบื้องต้นหรือรักษาพยาบาลกับหมอพื้นบ้าน ในหมู่บ้านของตนเอง เพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วยโดยอาศัยภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมารุ่นสู่รุ่น ซึ่งกระบวนการรักษาและสรรพคุณของสมุนไพรชนิดต่างๆ เหล่านี้ ล้วนเป็นองค์ความรู้ที่มีคุณค่าและสำคัญอย่างยิ่ง แต่เมื่อการแพทย์แผนปัจจุบันเริ่มเข้ามามีบทบาท สรรพคุณและคุณค่าของสมุนไพรไทย อันเป็นสิ่งที่เรียกได้ว่าเป็นภูมิปัญญาดั้งเดิม ก็เริ่มถูกบดบังไปเรื่อยๆ และถูกทอดทิ้งในที่สุด ส่งผลให้เยาวชนรุ่นหลังรู้จักสมุนไพรไทยน้อยลง และปัจจุบันประเทศไทยเริ่มให้ความสำคัญกับการใช้ยาสมุนไพรมากขึ้น
เนื่องจากการรักษาแผนปัจจุบันบางครั้งมีผลข้างเคียงในบางโรคและมีขีดจำกัดในการรักษา นอกจากนั้นอิทธิพลของกระแสโลกในเรื่องสมุนไพรและการแพทย์ทางเลือกก็เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย ทำให้คนไทยหันมาบริโภคสมุนไพรกันมากขึ้น
ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี เป็นตำบลที่ตั้งอยู่ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย มีศักยภาพทางภูมิศาสตร์ มีภูมิอากาศที่ดี และมีศักยภาพในการผลิตพืชสมุนไพรได้หลากหลายชนิด ที่มีลักษณะเฉพาะประจำท้องถิ่น รวมทั้งมีแหล่งผลิตสมุนไพรที่เหมาะสม แต่พื้นที่ดังกล่าวยังขาดศูนย์การเรียนรู้สำหรับพืชสมุนไพร เพื่อใช้เรียนรู้และต่อยอดองค์ความรู้ ตลอดจนพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านสมุนไพร อันจะก่อให้เกิดประโยชน์โดยตรงแล้วยังสามารถนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ได้อย่างหลากหลาย สมุนไพรจึงจัดเป็นพืชทางเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย ซึ่งนับว่าสมุนไพรไทยมีศักยภาพและสามารถนำรายได้เข้าประเทศสูงมากและมีแนวโน้มเติบโตในอนาคต
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรูสะมิแล จึงสนใจที่จะจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อช่วยส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ โดยใช้วัตถุดิบที่สามารถหาได้ในท้องถิ่นอย่างสมุนไพรมาเป็นวัตถุดิบหลัก ทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบศูนย์การเรียนรู้ รวมทั้งเป็นแนวทางในการออกแบบการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรเพื่อสุขภาพให้กับผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ เป็นแหล่งข้อมูลสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องพืชสมุนไพรให้กับคนในชุมชนตำบลรูสะมิแล
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถแปรรูปสมุนไพรสำหรับใช้ดูแลสุขภาพได้เอง
- เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ ช่วยลดค่าใช้จ่ายสำหรับจัดซื้อยา และลดการใช้ยาไม่สมเหตุสมผลได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- รายละเอียดค่าใช้จ่ายต่างๆ
- การทำยาดมสมุนไพร
- การทำทิงเจอร์ทองพันชั่ง
- การทำสเปรย์ไล่ยุง
- การทำยาหม่อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
250
กลุ่มวัยทำงาน
90
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- คนในชุมชนตำบลรูสะมิแลสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลความรู้ ความเข้าใจเรื่องพืชสมุนไพรจากศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
- ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถแปรรูปสมุนไพรในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในเบื้องต้น ช่วยลดภาวะความเจ็บป่วยต่อตนเองและคนในครอบครัว
- ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักการใช้สมุนไพรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ ช่วยลดค่าใช้จ่ายสำหรับจัดซื้อยา และลดการใช้ยาไม่สมเหตุสมผลได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ เป็นแหล่งข้อมูลสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องพืชสมุนไพรให้กับคนในชุมชนตำบลรูสะมิแล
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถแปรรูปสมุนไพรสำหรับใช้ดูแลสุขภาพได้เอง
ตัวชี้วัด :
4
เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ ช่วยลดค่าใช้จ่ายสำหรับจัดซื้อยา และลดการใช้ยาไม่สมเหตุสมผลได้
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
340
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
250
กลุ่มวัยทำงาน
90
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ เป็นแหล่งข้อมูลสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องพืชสมุนไพรให้กับคนในชุมชนตำบลรูสะมิแล (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถแปรรูปสมุนไพรสำหรับใช้ดูแลสุขภาพได้เอง (4) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ ช่วยลดค่าใช้จ่ายสำหรับจัดซื้อยา และลดการใช้ยาไม่สมเหตุสมผลได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รายละเอียดค่าใช้จ่ายต่างๆ (2) การทำยาดมสมุนไพร (3) การทำทิงเจอร์ทองพันชั่ง (4) การทำสเปรย์ไล่ยุง (5) การทำยาหม่อง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3018-1-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวยัสมีน หะยีอาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ ”
ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวยัสมีน หะยีอาแว
กรกฎาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3018-1-15 เลขที่ข้อตกลง 15/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กรกฎาคม 2567 ถึง 25 กรกฎาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3018-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กรกฎาคม 2567 - 25 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 118,915.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสมุนไพรไทย เป็นพันธุ์พืชที่ควรค่าแก่การศึกษาเรียนรู้ เพราะเป็นพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย ซึ่งสมุนไพรที่สำคัญและช่วยยกระดับเศรษฐกิจให้มั่นคง และลดค่าใช้จ่ายทางการแพทย์ของไทยนั้นก็คือ สมุนไพรที่ใช้ในการแพทย์แผนไทย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของคนไทยมาเป็นเวลานาน เนื่องจากคนไทยสมัยก่อนมีค่าใช้จ่ายในด้านการรักษาพยาบาลสูง ด้วยเหตุที่ในสมัยก่อนยังไม่มีสถานบริการด้านสาธารณสุข บริการประชาชนอย่างทั่วถึงเหมือนปัจจุบัน เมื่อเกิดการเจ็บป่วยขึ้นในชุมชนหรือในครอบครัว จึงมีการนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษาพยาบาลเบื้องต้นหรือรักษาพยาบาลกับหมอพื้นบ้าน ในหมู่บ้านของตนเอง เพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วยโดยอาศัยภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมารุ่นสู่รุ่น ซึ่งกระบวนการรักษาและสรรพคุณของสมุนไพรชนิดต่างๆ เหล่านี้ ล้วนเป็นองค์ความรู้ที่มีคุณค่าและสำคัญอย่างยิ่ง แต่เมื่อการแพทย์แผนปัจจุบันเริ่มเข้ามามีบทบาท สรรพคุณและคุณค่าของสมุนไพรไทย อันเป็นสิ่งที่เรียกได้ว่าเป็นภูมิปัญญาดั้งเดิม ก็เริ่มถูกบดบังไปเรื่อยๆ และถูกทอดทิ้งในที่สุด ส่งผลให้เยาวชนรุ่นหลังรู้จักสมุนไพรไทยน้อยลง และปัจจุบันประเทศไทยเริ่มให้ความสำคัญกับการใช้ยาสมุนไพรมากขึ้น
เนื่องจากการรักษาแผนปัจจุบันบางครั้งมีผลข้างเคียงในบางโรคและมีขีดจำกัดในการรักษา นอกจากนั้นอิทธิพลของกระแสโลกในเรื่องสมุนไพรและการแพทย์ทางเลือกก็เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย ทำให้คนไทยหันมาบริโภคสมุนไพรกันมากขึ้น ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี เป็นตำบลที่ตั้งอยู่ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย มีศักยภาพทางภูมิศาสตร์ มีภูมิอากาศที่ดี และมีศักยภาพในการผลิตพืชสมุนไพรได้หลากหลายชนิด ที่มีลักษณะเฉพาะประจำท้องถิ่น รวมทั้งมีแหล่งผลิตสมุนไพรที่เหมาะสม แต่พื้นที่ดังกล่าวยังขาดศูนย์การเรียนรู้สำหรับพืชสมุนไพร เพื่อใช้เรียนรู้และต่อยอดองค์ความรู้ ตลอดจนพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านสมุนไพร อันจะก่อให้เกิดประโยชน์โดยตรงแล้วยังสามารถนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ได้อย่างหลากหลาย สมุนไพรจึงจัดเป็นพืชทางเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย ซึ่งนับว่าสมุนไพรไทยมีศักยภาพและสามารถนำรายได้เข้าประเทศสูงมากและมีแนวโน้มเติบโตในอนาคต
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรูสะมิแล จึงสนใจที่จะจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อช่วยส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ โดยใช้วัตถุดิบที่สามารถหาได้ในท้องถิ่นอย่างสมุนไพรมาเป็นวัตถุดิบหลัก ทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบศูนย์การเรียนรู้ รวมทั้งเป็นแนวทางในการออกแบบการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรเพื่อสุขภาพให้กับผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ เป็นแหล่งข้อมูลสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องพืชสมุนไพรให้กับคนในชุมชนตำบลรูสะมิแล
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถแปรรูปสมุนไพรสำหรับใช้ดูแลสุขภาพได้เอง
- เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ ช่วยลดค่าใช้จ่ายสำหรับจัดซื้อยา และลดการใช้ยาไม่สมเหตุสมผลได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- รายละเอียดค่าใช้จ่ายต่างๆ
- การทำยาดมสมุนไพร
- การทำทิงเจอร์ทองพันชั่ง
- การทำสเปรย์ไล่ยุง
- การทำยาหม่อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 250 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 90 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- คนในชุมชนตำบลรูสะมิแลสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลความรู้ ความเข้าใจเรื่องพืชสมุนไพรจากศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
- ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถแปรรูปสมุนไพรในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในเบื้องต้น ช่วยลดภาวะความเจ็บป่วยต่อตนเองและคนในครอบครัว
- ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักการใช้สมุนไพรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ ช่วยลดค่าใช้จ่ายสำหรับจัดซื้อยา และลดการใช้ยาไม่สมเหตุสมผลได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ เป็นแหล่งข้อมูลสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องพืชสมุนไพรให้กับคนในชุมชนตำบลรูสะมิแล ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถแปรรูปสมุนไพรสำหรับใช้ดูแลสุขภาพได้เอง ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ ช่วยลดค่าใช้จ่ายสำหรับจัดซื้อยา และลดการใช้ยาไม่สมเหตุสมผลได้ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 340 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 250 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 90 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ เป็นแหล่งข้อมูลสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องพืชสมุนไพรให้กับคนในชุมชนตำบลรูสะมิแล (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถแปรรูปสมุนไพรสำหรับใช้ดูแลสุขภาพได้เอง (4) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ ช่วยลดค่าใช้จ่ายสำหรับจัดซื้อยา และลดการใช้ยาไม่สมเหตุสมผลได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รายละเอียดค่าใช้จ่ายต่างๆ (2) การทำยาดมสมุนไพร (3) การทำทิงเจอร์ทองพันชั่ง (4) การทำสเปรย์ไล่ยุง (5) การทำยาหม่อง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3018-1-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวยัสมีน หะยีอาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......