กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ


“ โครงการปลอดขยะ ปลอดโรค โรงเรียนบ้านท่าน้ำเค็มใต้ ”

ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางเจนจิรา จิตรหลัง

ชื่อโครงการ โครงการปลอดขยะ ปลอดโรค โรงเรียนบ้านท่าน้ำเค็มใต้

ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5287-2-010 เลขที่ข้อตกลง 08/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปลอดขยะ ปลอดโรค โรงเรียนบ้านท่าน้ำเค็มใต้ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปลอดขยะ ปลอดโรค โรงเรียนบ้านท่าน้ำเค็มใต้



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปลอดขยะ ปลอดโรค โรงเรียนบ้านท่าน้ำเค็มใต้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5287-2-010 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,025.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงมากขึ้นทุกวันนี้ส่วนหนึ่งมาจากขยะซึ่งเป็นพื้นฐานของชุมชนที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอาทิ เป็นแหล่งอาหารเพาะพันธุ์ของพาหนะนำโรค เช่น แมลงวัน แมลงสาบ ยุง ฯลฯ เป็นแหล่งแพร่กระจายเชื้อโรคมีกลิ่นเหม็นก่อให้เกิดความรำคาญทำลายสุนทรีภาพ ด้านสิ่งแวดล้อมเกิดสภาพไม่น่าดูสกปรก น่ารังเกียจขยะทำให้น้ำเสัยที่มีความสกปรกสูงมากเกิดกลิ่นรบกวนเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของนักเรียนและประชาชน
พระราชบัญญัติการสาธารณสุขให้ความหมายว่าขยะมูลฝอย คือ เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษถุงพลาสติกภาชนะใส่อาหารมูลสัตว์ เถ้า หรือซากสัตว์ รวมุึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนนตลาดที่เลี้ยงสัตว์หรือที่อื่นๆ
  องค์การอนามัยโลก ได้ให้ความหมายแก่ขยะมูลฝอยไว้ว่า คือสิ่งของจากบ้านเรือนที่ประชาชน ไม่ต้องการแล้วมีผู้นำประโยชน์ได้แล้วและถูกทิ้งให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไปกำจัดเก็บและขนส่งนั้นหมายความว่าสิ่งของที่เราทิ้งจากที่บ้านยังมีคนนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้สิ่งนั้นก็ยังไม่ใช่ขยะจากความหมาย ดังกล่าว ได้รับการตอกย้ำด้วยแนวคิดที่เห็นคุณค่าจากขยะดังเช่น ขยะคือทรัพยากร การใช้ทรัพยากรอย่างพอดีเห็นคุณค่าบวกกับการใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านกับวัสดุเหลือใช้ที่มีรอบบ้านเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาขยะ
  โรงเรียนบ้านท่าน้ำเค็มใต้เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตระหนักถึงความสำคัญของเรื่องดังกล่าว จึงจัดทำโครงการ โรงเรียนปลอดขยะ ขึ้นทั้งนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกจิตสำนึก การลด การคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ในโรงเรียน และการรวบรวมขยะเพื่อส่งกำจัดอย่างถูกต้อง และสร้างระบบการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่างๆ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และชุมชนมีความเข้าใจเกี่ยวกับการลด การคัดแยกขยะ การนำขยะกลับมาใช้ใหม่ และลดแหล่งเพาะเชื้อโรคที่มีผลต่อสุขภาพบุคลากรและนักเรียน
  2. 2. เพื่อปลูฝังให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาเห็นถึงความสำคัญของการคัดแยะกขยะให้ถูกหลักการ และสร้างสุขนิสัยที่ดี เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของตนเอง
  3. 3. เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ ปลูกจิตสำนึกและสร้างความตระหนักให้นักเรียน บุคลากรในสถานศึกษาในการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยซึ่งมีลผต่อสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ส่งเสริมต่างๆ
  2. กิจกรรม Big Cleaning Day
  3. กิจกรรมห้องเรียนปลอดขยะ
  4. กิจกรรม 4 ฐานการเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 129
กลุ่มวัยทำงาน 43
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา มีความรู้ มีจิตสำนึกตระหนักในการจัดการขยะมูลฝอยและสามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับชุมชนในการคัดแยกก่อนทิ้งที่ยั่งยืน
  2. นักเรียน ครู บุคลากร ทางการศึกษาในสถานศึกษา ตระหนักถึงความสำคัญของการลด การคัดแยกขยะ และการนำขยะกัลมาใช้ใหม่ในชีวิตประจำวัน ทั้งให้ความร่วมมือใรการจัดกิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะที่โรงเรียนจัดทำขึ้น
  3. โรงเรียนมะสภาพแวดล้อมที่ร่มรื่น สวยงาม ปลอดขยะ และมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และชุมชนมีความเข้าใจเกี่ยวกับการลด การคัดแยกขยะ การนำขยะกลับมาใช้ใหม่ และลดแหล่งเพาะเชื้อโรคที่มีผลต่อสุขภาพบุคลากรและนักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 90 มีความเข้าใจ เกี่ยวกับการลด การคัดแยะขยะและการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ ทำให้แหล่งเพาะเชื้อโรคลดลง
90.00

 

2 2. เพื่อปลูฝังให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาเห็นถึงความสำคัญของการคัดแยะกขยะให้ถูกหลักการ และสร้างสุขนิสัยที่ดี เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของตนเอง
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 90 สามารถปฏิบัติ เรื่องการลด การคะดแยกขยะและการนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ มีสุขภาพอนามัยที่ดี
90.00

 

3 3. เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ ปลูกจิตสำนึกและสร้างความตระหนักให้นักเรียน บุคลากรในสถานศึกษาในการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยซึ่งมีลผต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 90 มีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 172
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 129
กลุ่มวัยทำงาน 43
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และชุมชนมีความเข้าใจเกี่ยวกับการลด การคัดแยกขยะ การนำขยะกลับมาใช้ใหม่ และลดแหล่งเพาะเชื้อโรคที่มีผลต่อสุขภาพบุคลากรและนักเรียน (2) 2. เพื่อปลูฝังให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาเห็นถึงความสำคัญของการคัดแยะกขยะให้ถูกหลักการ และสร้างสุขนิสัยที่ดี เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของตนเอง (3) 3. เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ ปลูกจิตสำนึกและสร้างความตระหนักให้นักเรียน บุคลากรในสถานศึกษาในการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยซึ่งมีลผต่อสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ส่งเสริมต่างๆ (2) กิจกรรม Big Cleaning Day (3) กิจกรรมห้องเรียนปลอดขยะ (4) กิจกรรม 4 ฐานการเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปลอดขยะ ปลอดโรค โรงเรียนบ้านท่าน้ำเค็มใต้ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5287-2-010

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเจนจิรา จิตรหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด