กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง


“ โครงการป้องกันและชะลอภาวะไตวายเรื้อรังอย่างยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ ”

ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม โดย นายชัยณรงค์ ศรประสิทธิ์ ตำแหน่งนายกเทศมนตรีตำบลพะตง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและชะลอภาวะไตวายเรื้อรังอย่างยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗

ที่อยู่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7890-06-002 เลขที่ข้อตกลง 13

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและชะลอภาวะไตวายเรื้อรังอย่างยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและชะลอภาวะไตวายเรื้อรังอย่างยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและชะลอภาวะไตวายเรื้อรังอย่างยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7890-06-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล โรคไตเรื้อรัง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญของประเทศไทย มีจำนวนผู้ป่วย เพิ่มมากขึ้นในแต่ละปี และเมื่อผู้ป่วยเข้าสู่ภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย การรักษาด้วยวิธีบำบัดทดแทนไต ซึ่งได้แก่ การล้างไตทางช่องท้อง การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม และการปลูกถ่ายไต มีค่าใช้จ่ายสูง และมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโดยรวม ปัจจุบันพบผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรังกระจายอยู่ในชุมชน และหมู่บ้านทั่วประเทศ จึงถึงเวลาที่ทุกภาคส่วนร่วมมือผลักดันทศวรรษการป้องกันและชะลอภาวะไตเรื้อรัง เพื่อขับเคลื่อนและร่วมดำเนินการแก้ไขปัญหาโรคไตทุกระดับ ซึ่งจะเป็นพลังในการแก้ไขปัญหาโรคไตอย่าง ยั่งยืนได้ โดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๑๖ กำหนดอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะของเทศบาล (๑๙)การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล ประกอบกับมติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในการประชุมครั้งที่๕/๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๕ เห็นชอบนโยบายทศวรรษมาตรการการชะลอไตเสื่อม เพื่อลดผู้ป่วยโรคไตรายใหม่ อีกทั้งเป็นการป้องกันและชะลอการเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรัง ให้มีจำนวนที่ลดลงอย่างยั้งยืนได้ในอนาคต ข้อมูลกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๖ ในเขตเทศบาลตำบลพะพะตง มีอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูง ๑๙๐ ราย โรคเบาหวาน ๒๕๑ ราย และโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน ๖๕ ราย (ระบบคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจังหวัดสงขลา) ซึ่งผู้ป่วยเหล่านี้มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไตวายเรื้อรัง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลพะตง จึงจัดทำโครงการป้องกันและชะลอภาวะไตวายเรื้อรังอย่างยั่งยืน เพื่อขอรับงบสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลพะตง ในการจัดบริการสาธารณสุข ให้แก่ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่เทศบาลตำบลพะตง ให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ ลดภาระค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยและครอบครัว และยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีความรู้ และวิธีการปฏิบัติตน และการดูแลตนเองอย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง
  2. 2.เพื่อติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสม ในการป้องกันและชะลออัตราการเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการ
  2. อบรมให้ความรู้
  3. ติดตามพฤติกรรม
  4. สรุปผลโครงการ
  5. ๑. ประชุม บุคลากรด้านสาธารณสุขเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
  6. ๒.จัดอบรมให้ความรู้การชะลอไตเสื่อมให้กับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน ๓ ครั้งๆละ ๓๐ คน
  7. 3.ติดตามประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การชะลอภาวะไตเสื่อมจากแบบสอบถาม และการประเมินอาการ
  8. ๔. สรุปผลโครงการรายงานผู้บริหารและกองทุนหลักประกันสขภาพเทศบาลตำบลพะตง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 90
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ มีความรู้ วิธีการปฏิบัติตน และการดูแลตนเองอย่างเหมถูกต้องเหมาะสม เพื่อชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง
  2. ผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรังรายใหม่มีอัตราลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีความรู้ และวิธีการปฏิบัติตน และการดูแลตนเองอย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ๑.ร้อยละ 80 ของกลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีความรู้ และวิธีการปฏิบัติตน และการดูแลตนเองอย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง
80.00

 

2 2.เพื่อติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสม ในการป้องกันและชะลออัตราการเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ๒.ร้อยละ 8๐ ของกลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสม ในการป้องกันและชะลออัตราการเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรัง
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 90
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีความรู้ และวิธีการปฏิบัติตน และการดูแลตนเองอย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง (2) 2.เพื่อติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสม ในการป้องกันและชะลออัตราการเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการ (2) อบรมให้ความรู้ (3) ติดตามพฤติกรรม (4) สรุปผลโครงการ (5) ๑. ประชุม บุคลากรด้านสาธารณสุขเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง  เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน (6) ๒.จัดอบรมให้ความรู้การชะลอไตเสื่อมให้กับกลุ่มเป้าหมาย  จำนวน ๓ ครั้งๆละ ๓๐  คน (7) 3.ติดตามประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การชะลอภาวะไตเสื่อมจากแบบสอบถาม และการประเมินอาการ (8) ๔. สรุปผลโครงการรายงานผู้บริหารและกองทุนหลักประกันสขภาพเทศบาลตำบลพะตง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและชะลอภาวะไตวายเรื้อรังอย่างยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7890-06-002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม โดย นายชัยณรงค์ ศรประสิทธิ์ ตำแหน่งนายกเทศมนตรีตำบลพะตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด