กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการชุมชนจัดการสุขภาพห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) หมู่ที่5 บ้านบาโงยบาแด ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ”



หัวหน้าโครงการ
นายอาหามะ แวหะมะ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนจัดการสุขภาพห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) หมู่ที่5 บ้านบาโงยบาแด ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 44

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนจัดการสุขภาพห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) หมู่ที่5 บ้านบาโงยบาแด ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนจัดการสุขภาพห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) หมู่ที่5 บ้านบาโงยบาแด ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนจัดการสุขภาพห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) หมู่ที่5 บ้านบาโงยบาแด ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคเกี่ยวกับหลอดเลือดและมะเร็ง กลายเป็นภัยระบาดเงียบที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งสาเหตุเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง และยังก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอันตรายต่างๆ ที่สามารถทำลายอวัยวะต่างๆของร่างกาย ทำให้เกิดความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร เช่น หัวใจวาย ไตวาย เส้นเลือดในสมองตีบแตกเกิดอัมพาต และประสาทตาเสื่อมมัว โรคเหล่านี้ทำให้ผู้ป่วยเกิดความทุกข์ทรมานทั้งร่างกายและจิตใจ เนื่องจากเป็นโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ต้องอาศัยการรักษาอย่างต่อเนื่องด้วยการทานยาตลอดชีวิต ซึ่งส่งผลกระทบต่อครอบครัว เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศอย่างมหาศาล จึงทำให้ประเทศต้องมีนโยบายในการป้องกันควบคุมโรคเหล่านี้ โดยการลดพฤติกรรมเสี่ยงในประชากรไทย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้เช่นกรรมพันธุ์อายุและปัจจัยที่สามารถควบคุมได้เช่นความอ้วน , ความเครียด , ขาดการออกกำลังกาย , การบริโภคอาหารไม่ถูกส่วนการดื่มสุราสูบบุหรี่ถ้าหากประชาชนไม่มีการควบคุมปัจจัยดังกล่าวร่วมกับการมีอายุที่มากขึ้นคือ๓๕ปีขึ้นไปย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงได้ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวแล้วจำเป็นต้องรับประทานยาตลอดชีวิตหรือถ้าหากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น ซึ่งจากข้อมูลสุขภาพ การคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในพื้นที่ รพ.สต.บ้านบาโงยบาแด ม.1,ม.2,ม.5,ม.8 และม.11 ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566 พบว่า ประชานชนที่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน มีน้ำตาลปกติ ร้อยละ 75.05 เสี่ยง ร้อยละ 20.15 สงสัยป่วย ร้อยละ 4.80 และป่วยเป็นโรค รายใหม่ จำนวน 63 รายและประชาชนที่ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ปกติ ร้อยละ 79.02 เสี่ยง
ร้อยละ 18.05 สงสัยป่วย ร้อยละ 2.93 และป่วยเป็นโรค รายใหม่ จำนวน 53 รายดังนั้น หากประชาชนในกลุ่มต่าง ๆ ปฏิบัติตัวยังไม่ถูกต้อง หรือขาดความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และขาดความรอบรู้/ตระหนัก ในการจัดการพฤติกรรมสุขภาวะตนเองแล้ว จะส่งผลให้เกิดผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นในทุก ๆ ปี ประกอบกับประชาชน ยังขาดการเข้าถึงการดูแลด้านสุขภาพ และขาดการจัดการสุขภาพของชุมชนโดยชุมชนเองในการดูแลหรือบริการอย่างต่อเนื่องและใกล้บ้านใกล้ใจ ไม่ว่าจะเป็น จุด/สถานที่ให้บริการหรือร่วมจัดการด้านสุขภาพในชุมชน ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่ ดังนั้นเพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้ประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง และสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพรวมทั้งสามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนในการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านบาโงยบาแด จึงได้จัดทำโครงการชุมชนต้นแบบจัดการสุขภาพห่างไกลโรค NCD ขึ้นเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข ใกล้บ้านใกล้ใจ และสามารถประเมินภาวะสุขภาพตนเองได้เบื้องต้น มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง สงสัยป่วย มีความรอบรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  2. 2.เพื่อพัฒนาและยกระดับศักยภาพในการบริการและจัดการด้านสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง สงสัยป่วยสามารถเข้าถึงระบบบริการของชุมชนโดยชุมชน
  3. 3.เพื่อส่งเสริมการเกิดกลไกจัดการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต้นแบบห่างไกลโรค NCD

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ในชุมชน จำนวน 50 คน
  2. กิจกรรมจัดตั้งกลุ่มสนับสนุน ให้คำปรึกษาแก่กลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยป่วย และจัดตั้งระบบการดูแลผู้ป่วย NCD “Health station” (สถานีสุขภาพ) ในชุมชนโดยชุมชน
  3. 3.กิจกรรมการติดตามประเมินผล ทุก 3 เดือน เป็นจำนวน 4 ครั้ง/ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเสี่ยง สงสัยป่วย มีความรอบรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังร้อยละ 80
  2. พัฒนาและยกระดับศักยภาพการบริการและจัดการด้านสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง สงสัยป่วยสามารถเข้าถึงระบบบริการของชุมชนโดยชุมชน
  3. เกิดกลไกจัดการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต้นแบบห่างไกลโรค NCD

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง สงสัยป่วย มีความรอบรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2.เพื่อพัฒนาและยกระดับศักยภาพในการบริการและจัดการด้านสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง สงสัยป่วยสามารถเข้าถึงระบบบริการของชุมชนโดยชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อส่งเสริมการเกิดกลไกจัดการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต้นแบบห่างไกลโรค NCD
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง สงสัยป่วย มีความรอบรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2) 2.เพื่อพัฒนาและยกระดับศักยภาพในการบริการและจัดการด้านสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง สงสัยป่วยสามารถเข้าถึงระบบบริการของชุมชนโดยชุมชน (3) 3.เพื่อส่งเสริมการเกิดกลไกจัดการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต้นแบบห่างไกลโรค NCD

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ในชุมชน จำนวน 50 คน (2) กิจกรรมจัดตั้งกลุ่มสนับสนุน ให้คำปรึกษาแก่กลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยป่วย และจัดตั้งระบบการดูแลผู้ป่วย NCD “Health station” (สถานีสุขภาพ) ในชุมชนโดยชุมชน (3) 3.กิจกรรมการติดตามประเมินผล ทุก 3 เดือน เป็นจำนวน 4 ครั้ง/ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนจัดการสุขภาพห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) หมู่ที่5 บ้านบาโงยบาแด ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาหามะ แวหะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด