กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพเยาวชนอาสารณรงค์ส่งเสริมสุขภาพสภาเด็กและเยาวชนตำบลเกะรอ 19 ก.ค. 2567 19 ก.ค. 2567

 

ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. การประสานงานกับเป้าหมาย 2. ดำเนินการจัดอบรมตามที่กำหนด จำนวน 2 วัน
มี 2 รูปแบบ 1.อบรมภาคทฤษฎีด้านวิชาการ 2.อบรมภาคปฏิบัติลงพื้นที่รณรงค์ในชุมชน 3.สรุปผลการดำเนินงาน สำหรับการอบรมพัฒนาศักยภาพเยาวชนอาสาส่งเสริมสุขภาพสภาเด็กและเยาวชนตำบลเกะรอ
วันศุกร์ที่ 19  กรกฎาคม พ.ศ.2567  เวลา 08.00น.-16.00น. สถานที่ โรงเรียนดาริลอิหซาน หมู่ที่ 4 ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน  จังหวัดยะลา วันเสาร์ที่ 20  กรกฎาคม พ.ศ.2567  เวลา 08.00น.-16.00น. สถานที่ ณ  ไม้สนรีสอร์ทหมู่ที่ 6 ตำบลเทพา    อำเภอเทพา  จังหวัดสงขลา กำหนดการกิจกรรม โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพเยาวชนอาสาส่งเสริมสุขภาพสภาเด็กและเยาวชนตำบลเกะรอ วันเสาร์ที่ 19-20  กรกฎาคม พ.ศ.2567  เวลา 08.00น.-16.00น. สถานที่ ณ    ไม้สนรีสอร์ทท หมู่ที่ 6 ตำบลเทพา    อำเภอเทพา  จังหวัดสงขลา

วันที่ 19  กรกฎาคม เวลา                                            รายละเอียด 08.30น.-09.00น.                          ลงทะเบียน 09.00น.-09.30น.                          ชี้แจ้งวัตถุประสงค์กิจกรรมโครงการ/แบ่งกลุ่ม 09.30น.-10.00น.                          พิธีเปิดกิจกรรม โดย .................อบต.เกะรอ 10.00น.-11.00น.                          การเรียนรู้เรื่องปัญหาต่างๆด้านสุขภาพในชุมชน โดย รพ.สต.เกะรอ 11.00น.-12.00น.                          การเรียนรู้เรื่องปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ในชุมชน โดย รพ.สต.เกะรอ 12.00น.-13.00น.                          พักรับประทานอาหารเทียง 13.00น.-14.00น.                        การเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน โดย รพ.สต.เกะรอ 14.00น.-15.00น.                          การเรียนรู้เรื่องการตรวจสุขภาพของคนในชุมชน
                                                    โดย พนักงานฉุกเฉินการแพทย์  หน่วยกู้ชีพอิควะห์รามัน 15.00น.-16.00น.                          การเรียนรู้เรื่องการรณรงค์การป้องกันปัจจัยเสี่ยงในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน
                                                    โดย พนักงานฉุกเฉินการแพทย์ หน่วยกู้ชีพอิควะห์รามัน 16.00น.                                        เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

วันที่ 20 กรกฎาคม 67
เวลา                                            รายละเอียด 08.30น.-09.00น.                          ลงทะเบียน 09.00น.-10.00น.                          กิจกรรมตามกลุ่ม
                                                  โดย ทีมงานสคล.ยะลา 10.00น.-11.00น.                          การเรียนรู้เรื่องเฝ้าระวังและการป้องกันโทษภัยของแอลกอฮอล์และยาสูบและปัจจัยเสี่ยง                                                   ต่างๆในชุมชน          โดย ทีมงานสคล.ยะลา 11.00น.-12.00น.                          นำเสนอตามกลุ่มในประเด็นความรู้ตามที่ได้เรียนรู้                                                     โดย ทีมงานสคล.ยะลา 12.00น.-13.00น.                          พักรับประทานอาหารเทียง 13.00น.-14.40น.                          ลงพื้นที่ชุมชนเพื่อเรียนรู้การรณรงค์พร้อมเยียมชาวบ้านทีมีปัญหาสุขภาพและการดูแล                                                     ผู้ป่วยติเตี้ยงตามบ้าน  ม. 4 บ้านพะปูเงาะ      โดย ทีมงานสคล.ยะลา 14.40น.-15.10น.                          สรุปการลงพื้นที่          โดย ทีมงานสคล.ยะลา 15.10น.-16.00น.                          การมอบเกียรติบัตรผู้ผ่านการอบรม/พิธีปิด                                                     โดย ......................อบต.เกะรอ 16.00น.                                        เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

 

ผลผลิตที่คาดหวังจากการอบรมพัฒนาศักยภาพเยาวชนอาสารณรงค์ส่งเสริมสุขภาพประกอบด้วย:

  1. การเพิ่มพูนความรู้และทักษะ: เยาวชนมีความรู้ที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับสุขภาพ การป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพจิตและกาย และทักษะในการรณรงค์และสื่อสารเกี่ยวกับสุขภาพ
  2. ความสามารถในการจัดกิจกรรม: เยาวชนสามารถวางแผนและดำเนินการจัดกิจกรรมหรือโครงการรณรงค์เพื่อส่งเสริมสุขภาพในชุมชน เช่น การจัดงานสุขภาพ การให้ข้อมูลสุขภาพผ่านสื่อและกิจกรรมต่าง ๆ
  3. การมีบทบาทเป็นผู้นำในชุมชน: เยาวชนมีความมั่นใจและความสามารถในการเป็นผู้นำในเรื่องสุขภาพ มีบทบาทในการสร้างแรงบันดาลใจและกระตุ้นให้คนในชุมชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
  4. การสร้างเครือข่ายการสนับสนุน: เยาวชนมีเครือข่ายที่เชื่อมโยงกับหน่วยงานต่าง ๆ และบุคคลที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งสามารถช่วยให้การรณรงค์มีความต่อเนื่องและยั่งยืน
  5. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในชุมชน: การรณรงค์และกิจกรรมที่จัดทำโดยเยาวชนส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมของคนในชุมชน เช่น การเพิ่มขึ้นของการตรวจสุขภาพ การลดการเสี่ยงต่อโรค หรือการปรับปรุงสุขภาพจิต

  6. การประเมินผลและการเรียนรู้: การวัดและประเมินผลการดำเนินงานของกิจกรรมและโครงการที่เยาวชนดำเนินการ เพื่อให้มีการเรียนรู้และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิตเหล่านี้ช่วยให้การอบรมไม่เพียงแต่เสริมสร้างศักยภาพของเยาวชนเท่านั้น แต่ยังส่งผลดีต่อชุมชนโดยรวมด้วย

 

อบรมพัฒนาศักยภาพเยาวชนอาสารณรงค์ส่งเสริมสุขสุขภาพ 16 ก.ย. 2567